อุละมาอ์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
นักวิชาการในห้องสมุดอับบาซียะฮ์ มะกอมาตของอัลฮะรีรี ภาพประกอบโดย ยะห์ยา อิบน์ มะห์มูด อัลวาซิฏี, แบกแดด ค.ศ. 1237

ในศาสนาอิสลาม อุละมาอ์ (/ˈləˌmɑː/; อาหรับ: علماء, อักษรโรมัน: ʿulamāʾ, แปลตรงตัว'ผู้มีความรู้มาก';[1] ภาษา อาหรับ: عالِم, อักษรโรมัน: ʿālim เอกพจน์; เพศหญิงเอกพจน์ alimah; พหูพจน์ aalimath[2]) คือ นักวิชาการด้านความเชื่อ และกฎหมายอิสลาม พวกเขาถือเป็นผู้พิทักษ์, นักเผยแพร่ และผู้อธิบายความรู้ทางศาสนาในศาสนาอิสลาม[2]

"อุละมาอ์" อาจหมายความอย่างกว้างๆ ถึงชนชั้นที่มีการศึกษาของนักวิชาการศาสนาดังกล่าว รวมถึง นักเทววิทยา, มุฟตี, กอฎี, อาจารย์สอนศาสนา และเจ้าหน้าที่ศาสนาชั้นสูง อีกทางหนึ่ง "อุละมาอ์" อาจหมายถึงผู้ดำรงตำแหน่งทางราชการในรัฐอิสลาม[3]

ตามรายงานที่สืบทอดกันอย่างยาวนาน อุละมาอ์ได้รับการศึกษาในสถาบันทางศาสนา (มัดเราะซะฮ์) อัลกุรอาน และ ซุนนะฮ์ (หะดีษที่ถูกต้อง) เป็นแหล่งที่มาของของชะรีอะฮ์[4]

อ้างอิง[แก้]

  1. Brown, Jonathan A.C. (2014). Misquoting Muhammad: The Challenge and Choices of Interpreting the Prophet's Legacy. Oneworld Publications. p. 3. ISBN 978-1-78074-420-9. The ulama (literally, the learned ones);
  2. 2.0 2.1 Cl. Gilliot; R.C. Repp; K.A. Nizami; M.B. Hooker; Chang-Kuan Lin; J.O. Hunwick (2012). P. Bearman, P.; Bianquis, Th.; Bosworth, C.E.; van Donzel, E.; Heinrichs, W.P. (บ.ก.). ʿUlamāʾ. In: Encyclopaedia of Islam (2 ed.). Leiden: E.J. Brill. doi:10.1163/1573-3912_islam_COM_1278. ISBN 978-90-04-16121-4.
  3. "ʿulamāʾ (Islam)". Encyclopaedia Britannica. สืบค้นเมื่อ October 16, 2023.
  4. Muhammad Qasim Zaman (2007). The Ulama in Contemporary Islam: Custodians of Change. Princeton University Press. p. 1. ISBN 978-0-691-13070-5.