อิเล็กโทรด
หน้าตา
อิเล็กโทรด หรือ ขั้วเชื่อม หรือ ลวดเชื่อม หรือ ขั้วไฟฟ้า[1] (อังกฤษ: Electrode) เป็นตัวนำไฟฟ้าเพื่อใช้แนบกับส่วนที่ไม่ใช่โลหะของวงจรไฟฟ้า (เช่น สารกึ่งตัวนำ อิเล็กโทรไลต์ สุญญากาศ หรืออากาศ) อิเล็กโทรดเป็นคำที่บัญญัติขึ้นโดยนักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ วิลเลียม ฮิวเอ็ลล์ ตามคำของไมเคิล ฟาราเดย์ ซึ่งมาจากคำภาษากรีกว่า elektron ซึ่งจริง ๆ แปลว่า อำพัน แต่นำมาอนุพัทธ์ใช้หมายถึงไฟฟ้า บวกกับคำว่า hodos ซึ่งแปลว่าทาง[2][3]
เชิงอรรถและอ้างอิง
[แก้]- ↑ "Electrode", ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑ ฉบับ ๒๕๔๕,
(การเชื่อม) ๑. ขั้วเชื่อม ๒. ลวดเชื่อม ๓. อิเล็กโทรด, (ยานยนต์, วิทยาศาสตร์) ขั้วไฟฟ้า
- ↑ Weinberg, Steven (2003). The Discovery of Subatomic Particles Revised Edition. Cambridge University Fress. pp. 81-. ISBN 978-0-521-82351-7. สืบค้นเมื่อ 2015-02-18.
- ↑ Faraday, Michael (1834). "On Electrical Decomposition". Philosophical Transactions of the Royal Society. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-01-17. สืบค้นเมื่อ 2010-01-17. In this article Faraday coins the words electrode, anode, cathode, anion, cation, electrolyte, and electrolyze.
วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อที่เกี่ยวข้องกับ อิเล็กโทรด