อัตราส่วนทางการเงิน
อัตราส่วนทางการเงิน (financial ratio) เป็นการนำตัวเลขที่อยู่ในงบการเงินมาหาอัตราส่วนเพื่อใช้ในการวิเคราะห์เปรียบเทียบกับกิจการอื่น หรือ เปรียบเทียบกับผลการดำเนินงานในอดีต ช่วยให้ผู้วิเคราะห์ประเมินผลการดำเนินงาน แนวโน้ม และความเสี่ยงของกิจการได้ดียิ่งขึ้น
ตัวอย่างอัตราส่วนทางการเงิน[แก้]
อัตราส่วนสภาพคล่อง[แก้]
- อัตราส่วนทุนหมุนเวียน (current ratio)
- อัตราส่วนทุนหมุนเวียนเร็ว (quick ratio)
- อัตราส่วนเงินสด (cash ratio)
- อัตราหมุนเวียนของลูกหนี้ (receivable turnover)
- ระยะเวลาเก็บหนี้ (collection period)
- อัตราหมุนเวียนของสินค้าคงเหลือ (inventory turnover)
- ระยะเวลาขายสินค้า (holding period)
- วงจรเงินสด (cash conversion cycle)
อัตราส่วนประสิทธิภาพในการใช้สินทรัพย์[แก้]
- อัตราหมุนเวียนของสินทรัพย์รวม (total asset turnover)
- อัตราหมุนเวียนของสินทรัพย์ถาวร (net fixed asset turnover)
- อัตราหมุนเวียนของส่วนของผู้ถือหุ้น (equity turnover)
อัตราส่วนความสามารถในการทำกำไร[แก้]
- อัตรากำไรขั้นต้น (gross profit margin)
- อัตรากำไรจากการดำเนินงาน (operating profit margin)
- อัตรากำไรสุทธิ (net profit margin)
- อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ทั้งหมด (return on assets : ROA)
- อัตราผลตอบแทนจากส่วนของผู้ถือหุ้น (return on equity : ROE)
อัตราส่วนความสามารถในการชำระหนี้[แก้]
- อัตราส่วนหนี้สินต่อสินทรัพย์ (debt to asset ratio)
- อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (debt to equity ratio)
- อัตราส่วนความสามารถในการจ่ายดอกเบี้ย (interest coverage ratio)
ดูเพิ่ม[แก้]
![]() |
บทความเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ การเงิน ธุรกิจ หรือ การค้านี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูล |