สงครามกลางเมืองซูดานใต้
สงครามกลางเมืองซูดานใต้ | ||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ส่วนหนึ่งของ ความรุนแรงระหว่างชาติพันธุ์ในประเทศซูดานใต้[28][29] และสงครามกลางเมืองซูดาน | ||||||||
สถานการณ์ทางทหารในซูดานใต้ เมื่อวันที่ 22 มีนาคม ค.ศ. 2020
ภายใต้การควบคุมของรัฐบาลซูดานใต้
ภายใต้การควบคุมของSudan People's Liberation Movement-in-Opposition
ภายใต้การควบคุมของรัฐบาลซูดาน
(สำหรับแผนที่สถานการณ์ทางทหารปัจจุบันที่มีรายละเอียดมากกว่านี้ ดู) | ||||||||
| ||||||||
ผู้มีส่วนร่วม | ||||||||
รัฐพันธมิตร: ยูกันดา[10] อียิปต์[11] (กล่าวหา) |
|
SPLM-IO[14] TFNF[22] | ||||||
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ | ||||||||
ซัลวา กีร์ มายาร์ดิต (ประธานาธิบดีซูดานใต้) Gabriel Jok Riak (ตั้งแต่ ค.ศ. 2018) เจมส์ อาโจโง มาวุต (2017–2018) พอล มาลง อาวัน (2014–17) เจมส์ ฮอธ ไม (จนถึง ค.ศ. 2014)[31] Kuol Manyang Juuk Peter Par Jiek † โยเวรี มูเซเวนี Katumba Wamala Matthew Puljang[2] |
เดวิด เชียเรอร์ (ตั้งแต่ ค.ศ. 2016) Ellen Margrethe Løj (2014–2016) Hilde Frafjord Johnson (จนถึง ค.ศ. 2014) |
Riek Machar[32][33] (ผู้นำ SPLM-IO) Paulino Zangil[c] Thomas Cirilo Gabriel Changson Chang Peter Gadet (เสียชีวิต ค.ศ. 2019) Lam Akol Khalid Botrous[19] (2016–ปัจจุบัน) David Yau Yau[d] (2013–2016) John Uliny[20][21] Gabriel Tang † Yoanis Okiech †[22][35] Paul Malong Awan (ตั้งแต่ ค.ศ. 2018) | ||||||
กำลัง | ||||||||
SPLA: 150,000 (2015)[36] ยูกันดา: มากกว่า 5,000 นาย (2014)[37] |
12,523 นาย (2015)[12][38] ทหาร 15,000 นาย (2019)[39] ตำรวจ 1,800 นาย (2019)[39] |
SPLM-IO: ผู้แปรพักตร์อย่างน้อย 10,000 นาย[40][41][42] Nuer White Army: 25,000 (2013)[15][43] NAS: มากกว่า 20,000 นาย (NAS อ้าง, 2017)[44] SSPA: 15,000 (SSPA อ้าง, 2017)[45] | ||||||
ความสูญเสีย | ||||||||
เสียชีวิต 10,659 นาย, บาดเจ็บ 9,921 นาย (มกราคม – ตุลาคม ค.ศ. 2014)[46] เสียชีวิต 21 นาย (ณ มกราคม ค.ศ. 2014)[47] | ผู้รักษาสันติภาพเสียชีวิต 5 คน (ณ สิงหาคม ค.ศ. 2015)[48] | ไม่ทราบ | ||||||
เสียชีวิตอย่างรุนแรง 190,000 คน (เมษายน ค.ศ. 2018)[49] เสียชีวิตจากการเกี่ยวข้องกับสงครามที่ไม่รุนแรง 193,000 คน (เมษายน ค.ศ. 2018)[49] รวมเสียชีวิต 383,000 คน (เมษายน ค.ศ. 2018) | ||||||||
พลเมืองหนีออกจากซูดานใต้มากกว่า 1.5 ล้านคนและพลัดถิ่นภายในประเทศมากกว่า 2.1 ล้านคน (ณ ค.ศ. 2017)[50] พลเมืองเคนยาเสียชีวิต 4 คน[51] |
สงครามกลางเมืองซูดานใต้ เป็นสงครามกลางเมืองในซูดานใต้ระหว่างกองทัพของรัฐบาลและฝ่ายต่อต้าน ในเดือนธันวาคม ค.ศ. 2013 ประธานาธิบดีกีร์กล่าวหา Riek Machar อดีตรองประธานาธิบดีกับผู้อื่นอีก 10 คนว่าพยายามก่อรัฐประหาร[52][53] Machar ปฏิเสธข้อกล่าวหาและหลบหนีไปนำ SPLM – ฝ่ายต่อต้าน (SPLM-IO)[54] ทำให้เกิดการต่อสู้ระหว่าง Sudan People's Liberation Movement (SPLM) กับ SPLM-IO ซึ่งภายหลังลุกลามเป็นสงครามกลางเมือง ทหารยูกันดาสู้รบร่วมกับกำลังรัฐบาลซูดานใต้ต่อกบฏ[55] สหประชาชาตินำผู้รักษาสันติภาพเข้าในประเทศตามภารกิจสหประชาชาติในซูดานใต้ (UNMISS)[56]
คาดว่ามีผู้เสียชีวิตจากสงครามประมาณ 400,000 คน ณ เมษายน ค.ศ. 2018 ซึ่งรวมความโหดร้ายที่สำคัญอย่างการสังหารหมู่ที่ Bentiu ใน ค.ศ. 2014[49] ถึงแม้ว่าทั้งสองฝ่ายมีผู้สนับสนุนการแบ่งแยกทางชาติพันธุ์ในประเทศ แต่การต่อสู้ที่ตามมาก็มีนัยยะทางชาติพันธุ์ กลุ่มชาติพันธ์ Dinka ของกีร์ถูกกล่าวหาว่าโจมตีกลุ่มชาติพันธุ์อื่นและกลุ่มชาติพันธ์ุ Nuer ของ Machar ก็ถูกกล่าวหาว่าโจมตีกลุ่มชาติพันธุ์ Dinka[57] มีประชากรพลัดถิ่นมากกว่า 4 ล้านคน ในจำนวนนี้มีประมาณ 1.8 ล้านคนที่พลัดถิ่นในประเทศ และประมาณ 2.5 ล้านที่หนีไปประเทศเพื่อนบ้าน โดเฉพาะประเทศยูกันดาและซูดาน[58] การต่อสู่ที่ใจกลางพื้นที่การเกษตรทางตอนใต้ของประเทศทำให้มีประชากรอดอยากสู่ถึง 6 ล้านคน[59] ทำให้ในบางพื้นที่เกิดทุกภิกขภัยขึ้น[60] เศรษฐกิจของประเทศก็ได้รับผลกระทบ โดยรายงานจาก IMF ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 2017 ระบุว่ารายได้จริงถูกลดครึ่งหนึ่งมาตั้งแต่ ค.ศ. 2013 และอัตราเงินเฟ้อมีมากกว่า 300% ต่อปี[61]
ดูเพิ่ม
[แก้]หมายเหตุ
[แก้]- ↑ SPLM-IO กล่าวหา JEM ว่าสนับสนุนรัฐบาลกีร์ตั้งแต่ ค.ศ. 2013 แม้ว่า JEM ปฏิเสธการมีส่วนร่วมและข้ออ้างเพื่อรักษาความเป็นกลางในสงครามกลางเมืองซูดานใต้[3] อย่างไรก็ตาม รัฐบาลซูดาน[4] เจ้าหน้าที่ช่วยเหลือ[3] และข้อมูลอื่น ๆ[5] ได้ยืนยันว่า JEM มีส่วนในความขัดแย้งในฝ่ายรัฐบาลซูดานใต้[6]
- ↑ กลุ่ม Cobra Faction ต่อต้านรัฐบาลอย่างเปิดเผยจนถึง ค.ศ. 2014 และยังคงเป็นแนวร่วมต่อต้านจนถึง ค.ศ. 2015 เมื่อแบ่งออกเป็นฝ่ายสนับสนุนรัฐบาลและฝ่ายสนับสนุน SPLM-IO ซึ่งกลุ่มหลังนี้ได้จัดตั้งกองกำลัง Greater Pibor ขึ้น ในช่วงต้น ค.ศ. 2016 Cobra Faction ยุบเลิกลงอย่างชัดเจนเมื่อกลุ่มที่เหลือได้เข้าร่วมรัฐบาล[16][17][18] อย่างไรก็ตาม ในเดือนกันยายน ค.ศ. 2016 กลุ่ม Cobra Faction ได้มีการประกาศฟื้นฟูโดยผู้บัญชาการบางคน และประกาศว่ากลับมาต่อสู้กับรัฐบาลอีกครั้ง[19]
- ↑ Zangil ดำรงตำอหน่งผู้บัญชาการ SSDM/A - Cobra Faction ตั้งแต่ ค.ศ. 2013 จนกระทั่งเขาละทิ้งกองกำลังส่วนใหญ่ไปยัง SPLM-IO ใน ค.ศ. 2015 โดยทำการจัดตั้ง "Greater Pibor Forces"[16][17]
- ↑ Yau Yau นำกลุ่ม SSDM/A - Cobra Faction ต่อต้านรัฐบาล SPLM อย่างเปิดเผยจนถึง ค.ศ. 2014 และมีสถานะปกครองตนเองอย่างสงบจนถึง ค.ศ. 2015 เมื่อกองทัพส่วนหนึ่งแปรพักตร์เข้า SPLM-IO ใน ค.ศ. 2016 เขากับกกลุ่มที่จงรักภักดีต่อเขาเข้าร่วม SPLM[16][18][34]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ James Copnall (21 August 2014). "Ethnic militias and the shrinking state: South Sudan's dangerous path". African Arguments. สืบค้นเมื่อ 15 September 2018.
- ↑ 2.0 2.1 "Kiir's Dinka Forces Join SSLA Rebels". Chimpreports. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 January 2014. สืบค้นเมื่อ 22 December 2013.
- ↑ 3.0 3.1 Small Arms Survey (2014), p. 7.
- ↑ Small Arms Survey (2014), pp. 14, 17.
- ↑ 5.0 5.1 "South Sudan deploys more troops to Upper Nile as fighting intensifies". South Sudan News Agency. 9 February 2017. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-02-09. สืบค้นเมื่อ 9 February 2017.
- ↑ Small Arms Survey (2014), pp. 7, 11, 14.
- ↑ Small Arms Survey (2014), pp. 10, 11, 20.
- ↑ 8.0 8.1 Craze, Tubiana & Gramizzi (2016), p. 160.
- ↑ "Ethiopian opposition leader denies supporting South Sudan against rebels". Sudan Tribune. 6 April 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-09-21. สืบค้นเมื่อ 25 January 2019.
- ↑ Clottey, Peter (22 October 2015). "Uganda Begins Troop Withdrawal from South Sudan". VOA News. สืบค้นเมื่อ 22 October 2015.
- ↑ "Egypt supports South Sudan to secure Nile share". Al Monitor. 24 February 2015.
- ↑ 12.0 12.1 "United Nations Mission in the Republic of South Sudan". UNMISS Facts and Figures. UN. สืบค้นเมื่อ 23 January 2012.
- ↑ "Mandate". United Nations Mission in South Sudan (UNMISS). 16 October 2015.
- ↑ "South Sudan oil town changes hands for fourth time. Why?". The Christian Science Monitor. 5 May 2014. สืบค้นเมื่อ 2 October 2014.
- ↑ 15.0 15.1 "South Sudan: 'White Army' militia marches to fight". USA Today. 28 December 2013.
- ↑ 16.0 16.1 16.2 "David Yau Yau surrenders Cobra-faction to a General linked to the SPLA-IO: Cobra-faction's splinter group". South Sudan News Agency. 12 January 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-10-12. สืบค้นเมื่อ 2016-12-03.
- ↑ 17.0 17.1 17.2 "Murle faction announces defection to S. Sudan rebels". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-10-12. สืบค้นเมื่อ 13 May 2016.
- ↑ 18.0 18.1 "South Sudan's Boma state violence displaces hundreds". Sudan Tribune. 31 March 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-12-30. สืบค้นเมื่อ 2016-12-03.
- ↑ 19.0 19.1 "Top Cobra Faction general defects from Kiir government". Radio Tamazuj. 27 September 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 October 2016. สืบค้นเมื่อ 27 September 2016.
- ↑ 20.0 20.1 "Johnson Olony's forces prefer independent command in Upper Nile state". sudantribune.com. 17 May 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-08-10. สืบค้นเมื่อ 23 June 2015.
- ↑ 21.0 21.1 "Government Questions SPLM/A-IO About The Position Of Gen. Johnson Olony". gurtong. 2 April 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-06-07. สืบค้นเมื่อ 12 July 2016.
- ↑ 22.0 22.1 "The Conflict in Upper Nile". www.smallarmssurveysudan.org. 8 May 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-02-24. สืบค้นเมื่อ 13 December 2016.
- ↑ "S. Sudan's Otuho rebels unveil objectives for armed struggle". Sudan Tribune. 4 December 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-10-12. สืบค้นเมื่อ 20 December 2015.
- ↑ "South Sudan General Gathoth Gatkuoth explains to Karin Zeitvogel why he broke with Riek Machar". voanews.com. 12 August 2015. สืบค้นเมื่อ 15 August 2015.
- ↑ "Changson dismisses Gathoth Gatkuoth as FDP group splits over advance team to Juba". sudantribune.com. 12 July 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-10-12. สืบค้นเมื่อ 5 January 2016.
- ↑ "S. Sudan army in control of Wau town after heavy gunfire". sudantribune.com. 12 July 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-10-12. สืบค้นเมื่อ 26 June 2016.
- ↑ "S. Sudan rebels accuse government of backing Ethiopian rebels". Sudan Tribune. 18 March 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-09-26. สืบค้นเมื่อ 6 April 2019.
- ↑ "It wasn't a coup: Salva Kiir shot himself in the foot", South Sudan nation, คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-10-12, สืบค้นเมื่อ 2016-12-03
- ↑ Burke, Jason (12 July 2016). "South Sudan: is the renewed violence the restart of civil war?". The Guardian. สืบค้นเมื่อ 14 July 2016.
- ↑ "South Sudan on verge of civil war, death toll rises". Daily Sabah. 12 July 2016.
- ↑ "South Sudan's president sacks army chief". The Daily Star. Lebanon. 23 April 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-07-17. สืบค้นเมื่อ 24 July 2014.
- ↑ "South Sudan rebel leader sets out conditions for talks". Trust. Thomson Reuters Foundation. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-02-15. สืบค้นเมื่อ 24 December 2013.
- ↑ Daniel Howden in Juba (23 December 2013). "South Sudan: the state that fell apart in a week". The Guardian. สืบค้นเมื่อ 24 December 2013.
- ↑ "Pibor's Yau Yau joins SPLM". Sudan Tribune. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-08-06. สืบค้นเมื่อ 2016-12-03.
- ↑ "Another S Sudanese rebel commander killed near Sudan border". Radio Tamazuj. 7 January 2017. สืบค้นเมื่อ 8 January 2017.
- ↑ IISS 2015.
- ↑ "Major role for Ugandan army in South Sudan 'until the country is stable'". Radio Tamazuj. 31 January 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-12-03. สืบค้นเมื่อ 13 June 2019.
- ↑ "South Sudan". The United Nations. CA. 23 มิถุนายน 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 เมษายน 2015. สืบค้นเมื่อ 23 มิถุนายน 2015.
- ↑ 39.0 39.1 "Pride and reverence reign as UNMISS celebrates International Day of UN Peacekeepers in South Sudan". UN. 29 May 2019. สืบค้นเมื่อ 2 August 2019.
- ↑ "South Sudan's army advances on rebels in Bentiu and Bor". BBC. 9 January 2014. สืบค้นเมื่อ 9 January 2014.
- ↑ "South Sudan rebels claim 700 government troops defect". The Daily Star. 6 February 2014.
- ↑ "South Sudan army advances on rebel towns before peace talks". Reuters. 2 January 2014.
- ↑ "South Sudan forces battle White Army". The Daily Star. LB. 29 December 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-08-29. สืบค้นเมื่อ 2016-12-03.
- ↑ "Thousands of Machar-led fighters "defect" to new rebel group". Sudan Tribune. 29 July 2017. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-09-26. สืบค้นเมื่อ 16 August 2017.
- ↑ "South Sudan army denies rebel capture of military base in Aweil". Sudan Tribune. 17 June 2017. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-09-21. สืบค้นเมื่อ 14 June 2018.
- ↑ "South Sudan's military casualties top 20,000". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 February 2016.
- ↑ "South Sudan President Salva Kiir hits out at UN". BBC. 21 January 2014.
- ↑ "South Sudan rebels split, reject peace efforts". News. Yahoo. 11 August 2015.
- ↑ 49.0 49.1 49.2 "Study estimates 190,000 people killed in South Sudan's civil war". Reuters. 26 September 2018. สืบค้นเมื่อ 26 September 2018.
- ↑ "Daily Press Briefing by the Office of the Spokesperson for the Secretary-General". United Nations. 10 February 2017.
- ↑ "4 Kenyans dead as South Sudan evacuation ends". KE: Capital FM. สืบค้นเมื่อ 3 January 2013.
- ↑ Koos, Carlo; Gutschke, Thea (2014). "South Sudan's Newest War: When Two Old Men Divide a Nation". GIGA Focus International Edition (2). สืบค้นเมื่อ 1 September 2016.
- ↑ Kulish, Nicholas (9 January 2014). "New Estimate Sharply Raises Death Toll in South Sudan". The New York Times. สืบค้นเมื่อ 2 February 2014.
- ↑ "South Sudan opposition head Riek Machar denies coup bid". bbcnews.com. 18 December 2013. สืบค้นเมื่อ 18 December 2013.
- ↑ "Yoweri Museveni: Uganda troops fighting South Sudan rebels". BBC News. 16 January 2014.
- ↑ "South Sudan country profile". BBC News. 6 August 2018.
- ↑ "South Sudan 'coup leaders' face treason trial". BBC News. 29 January 2014.
- ↑ "A new report estimates that more than 380,000 people have died in South Sudan's civil war". Washington Post. 26 September 2018. สืบค้นเมื่อ 26 September 2018.
- ↑ "Starvation threat numbers soar in South Sudan". aljazzera. 25 November 2016.
- ↑ "South Sudan declares famine in Unity State". BBC News. 20 February 2017. สืบค้นเมื่อ 20 February 2017.
- ↑ "As South Sudan implodes, America reconsiders its support for the regime". The Economist. 12 October 2017.
บรรณานุกรม
[แก้]- "Timeline of Recent Intra-Southern Conflict" (PDF). Geneva: Small Arms Survey. 27 June 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2020-09-06. สืบค้นเมื่อ 2022-12-03.
{{cite journal}}
: Cite journal ต้องการ|journal=
(help) - Craze, Joshua; Tubiana, Jérôme; Gramizzi, Claudio (2016). Emile LeBrun (บ.ก.). "A State of Disunity: Conflict Dynamics in Unity State, South Sudan, 2013–15" (PDF). HSBA Working Paper. Geneva: Small Arms Survey (42). ISBN 978-2-940548-32-3. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2019-04-21. สืบค้นเมื่อ 2022-12-03.
- Martell, Peter (2019). First Raise a Flag: How South Sudan Won the Longest War But Lost the Peace. Oxford: Oxford University Press. ISBN 978-0190052706.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]แหล่งข้อมูลห้องสมุดเกี่ยวกับ สงครามกลางเมืองซูดานใต้ |
- "Response to the crisis in South Sudan", Emergencies, FAO, คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-07-02, สืบค้นเมื่อ 2019-10-08.
- Vice – Saving South Sudan
- Saving South Sudan Documentary เก็บถาวร 2014-09-25 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Final Report of the African Union Commission of Inquiry on South Sudan (Oct. 2014)
- A Separate Opinion by Professor Mahmood Mamdani, Commissioner, Member, African Union Commission of Inquiry on South Sudan (AUCISS) (Oct. 2014)