วีวัลดี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
วีวัลดี (Vivaldi)
นักพัฒนาVivaldi Technologies
วันที่เปิดตัว
Linux, macOS, WindowsTechnical Preview / 27 มกราคม 2015; 9 ปีก่อน (2015-01-27)[1]
Linux, macOS, Windows1.0 / 6 เมษายน 2016; 8 ปีก่อน (2016-04-06)[2]
AndroidBeta / 9 กันยายน 2019; 4 ปีก่อน (2019-09-09)[3]
Android3.0 / 22 เมษายน 2020; 4 ปีก่อน (2020-04-22)[4]
iOS, iPadOSBeta / 23 พฤษภาคม 2023; 10 เดือนก่อน (2023-05-23)[5]
iOS, iPadOS6.3 / 28 กันยายน 2023; 6 เดือนก่อน (2023-09-28)[6]
รุ่นเสถียร
Linux, macOS, Windows6.7 (3329.17)[7] แก้ไขบนวิกิสนเทศ / 25 เมษายน 2024; 1 วันก่อน (25 เมษายน 2024)
Android6.6 (3291.89)[8] แก้ไขบนวิกิสนเทศ / 15 เมษายน 2024; 11 วันก่อน (15 เมษายน 2024)
iOS, iPadOS6.6 (3287.27)[9] แก้ไขบนวิกิสนเทศ / 18 มีนาคม 2024; 39 วันก่อน (18 มีนาคม 2024)
รุ่นทดลอง
Linux, macOS, Windows6.7 (3329.14)[10] แก้ไขบนวิกิสนเทศ / 23 เมษายน 2024; 3 วันก่อน (23 เมษายน 2024)
Android6.7 (3335.4)[11] แก้ไขบนวิกิสนเทศ / 23 เมษายน 2024; 3 วันก่อน (23 เมษายน 2024)
ที่เก็บข้อมูล
ภาษาที่เขียนC++[12]
เอนจินsBlink (WebKit on iOS/iPadOS), V8
ระบบปฏิบัติการ
แพลตฟอร์มIA-32, x86-64, ARM (macOS, Linux & Android only)
ขนาด
  • Windows: 38.9 ~ 44.8 MB
  • macOS: 60.4 MB
  • Linux: ~45 MB
ภาษา53 ภาษา[14]
รายชื่อภาษา
Albanian, Arabic, Armenian, Basque, Belarusian, Bulgarian, Catalan, Chinese (Simplified), Chinese (Traditional), Croatian, Czech, Danish, Dutch, English, Estonian, Finnish, French, Frisian, Galician, Georgian, German, Greek, Hungarian, Icelandic, Ido, Indonesian, Italian, Japanese, Korean, Kurdish, Latvian, Lithuanian, Lojban, Macedonian, Norwegian (Bokmal), Norwegian (Nynorsk), Persian, Polish, Portuguese (Brazil), Portuguese (Portugal), Romanian, Russian, Sardinian, Scots Gaelic, Serbian, Slovak, Slovenian, Spanish, Spanish (Peru), Swedish, Turkish, Ukrainian, Vietnamese
ประเภทWeb browser
สัญญาอนุญาต BSD-3 and Proprietary freeware[a]
เว็บไซต์vivaldi.com

วีวัลดี (Vivaldi) ( /vɪˈvɑːldi, vəˈv-/ [16][17]) เป็น เว็บเบราว์เซอร์ ฟรีแวร์ ข้ามแพลตฟอร์ม ที่มาพร้อมไคลเอนต์อีเมล พัฒนาโดยวีวัลดีเทคโนโลจีส์ ซึ่งเป็นบริษัทที่ก่อตั้งโดย Tatsuki Tomita และ Jon Stephenson von Tetzchner ซึ่งเป็นผู้ร่วมก่อตั้ง และอดีตซีอีโอ ของโอเปร่าซอฟต์แวร์ วิวัลดีเปิดตัวอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2559 [18] [19]

ข้อมูลเมื่อเมษายน พ.ศ. 2566 ระบุว่าวีวัลดีมีผู้ใช้มากกว่า 2.4 ล้านคน[20]

ความเป็นมา[แก้]

วีวัลดีเริ่มต้นขึ้นจากการเป็นชุมชนเสมือน ที่มาแทนที่My Opera (ซึ่งโอเปร่าซอฟต์แวร์ได้ปิดตัวไปก่อนหน้านี้ ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2557) [21] Jon Stephenson von Tetzchner รู้สึกแค้นจากการตัดสินใจนี้มาก เนื่องจากเขาเชื่อว่าชุมชนนี้ช่วยพัฒนาโอเปร่า ให้มาถึงจุดจุดนี้ได้ Tetzchner จึงได้เปิดบริการอื่นๆ มาแทนที่ My Opera ในนามของชุมชนวีวัลดี (อังกฤษ: Vivaldi Community) ถัดมา ในวันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2558 วีวัลดีเทคโนโลจีส์ได้เปิดตัว[22]เวอร์ชันพรีวิวเชิงเทคนิคแรกของเว็บบราวเซอร์วีวัลดี [23] โดยตั้งชื่อตาม อันโตนีโอ ลูซีโอ วีวัลดี (อิตาลี: Antonio Lucio Vivaldi) ผู้เป็นคีตกวีและนักเล่นดับเบิ้ลเบสชื่อดังในสมัยบาโรกจากเวนิส, สาธารณรัฐเวนิส (ปัจจุบันคือเมืองเวนิส ประเทศอิตาลี) Tatsuki Tomita กล่าวว่าวีวัลดีเป็นชื่อที่จำง่ายและเข้าใจตรงกันทั่วโลก [19]

ในกันยายนปี 2564 วีวัลดีได้แทนที่มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์ ในฐานะบราวเซอร์พื้นฐานของแมนจาโรฉบับที่ใช้สิ่งแวดล้อมเดสก์ท็อปซินนามอน[24]

การตอบรับ[แก้]

นักรีวิว Scott Gilbertson จาก Ars Technica ได้ลองใช้เวอร์ชัน 1.0 ในเดือนเมษายน 2559 และได้รีวิวว่าคุณสมบัติที่เป็นนวัตกรรมใหม่ เช่น การจัดการแท็บ นั้นน่าชมเชย ถึงแม้ว่าอาจจะกลายเป็นเบราว์เซอร์ที่ใช้กันเฉพาะกลุ่มผู้ใช้กลุ่มเล็กๆ และจะไม่ได้รับความนิยมอย่างกว้างขวาง [25] ในเดือนตุลาคม 2561 Gilbertson เขียนรีวิวเชิงบวกอย่างมากกับเวอร์ชัน 2.0 และระบุว่าตอนนี้ วีวัลดีได้กลายเป็นเบราว์เซอร์หลักของเขาแล้ว และเขาคงเป็นเรื่องยากที่จะกลับไปใช้เบราว์เซอร์อื่นที่ไม่มีคุณสมบัติที่เป็นเอกลักษณ์ของวีวัลดี [26]

หมายเหตุ[แก้]

  1. ตัวส่วนต่อประสานผู้ใช้ (UI) ของเบราว์เซอร์นั้นปิดบังต้นฉบับ (closed-source) แต่โค้ดส่วนแบ็คเอ็นด์ ( backend) ที่เขียนด้วยC++ และโค้ดของโครเมียม ที่โอเพนซอร์สเดิมอยู่แล้วนั้นแจกจ่ายภายใต้สัญญาอนุญาต BSD-3.[15]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Vivaldi Tech Preview 1 Just Arrived". Vivaldi Technologies. 2015-01-27. สืบค้นเมื่อ 2022-08-28.
  2. Andrii, Degeler (6 April 2016). "Vivaldi 1.0 tries to reverse web browser simplification trend". Ars Technica. สืบค้นเมื่อ 8 April 2016.
  3. "Vivaldi goes mobile". Vivaldi Technologies. 9 September 2019. สืบค้นเมื่อ 21 September 2019.
  4. "One day. Two big Vivaldi browser releases". Vivaldi Technologies. 22 April 2020. สืบค้นเมื่อ 24 April 2020.
  5. "Be part of Vivaldi on iOS: Get the preview and give us feedback". Vivaldi Technologies. 23 May 2023. สืบค้นเมื่อ 18 July 2023.
  6. "Vivaldi Takes a Bite Out of the Apple: Introducing Vivaldi on iOS". Vivaldi Technologies. 28 September 2023. สืบค้นเมื่อ 28 September 2023.
  7. "Vivaldi boosts performance with Memory Saver and auto-detects feeds with its Feed Reader". 25 เมษายน 2024. สืบค้นเมื่อ 26 เมษายน 2024.
  8. "Minor update(4) for Vivaldi Android Browser 6.6". 15 เมษายน 2024. สืบค้นเมื่อ 23 เมษายน 2024.
  9. "Minor update for Vivaldi iOS Browser 6.6". 18 มีนาคม 2024. สืบค้นเมื่อ 21 มีนาคม 2024.
  10. "Getting close – Vivaldi Browser snapshot 3329.14". 23 เมษายน 2024. สืบค้นเมื่อ 23 เมษายน 2024.
  11. "Regression fixes – Vivaldi Android Browser snapshot 3335.4". 23 เมษายน 2024. สืบค้นเมื่อ 23 เมษายน 2024.
  12. "Vivaldi browser: Interview with Jon Stephenson von Tetzchner". utappia.org. September 21, 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ November 5, 2016. สืบค้นเมื่อ December 22, 2016.
  13. "Download Vivaldi". vivaldi.com. Vivaldi Technologies. สืบค้นเมื่อ January 29, 2017.
  14. "Vivaldi version 1.13.1008.32 for Windows (7+)". Vivaldi Technologies. November 25, 2017.
  15. Picalausa, Julien (2021-07-09). "Why isn't Vivaldi browser open-source?". Vivaldi. สืบค้นเมื่อ 2022-08-21. Vivaldi is built in roughly three layers: 1. Chromium, the foundation for our browser. 2. A lot of backend C++ code to support unique features like Ad blocker and Notes. 3. Our UI for desktop (HTML+CSS+JS) and Android [...] Roughly 92% of the browser’s code is open source coming from Chromium, 3% is open source coming from us, which leaves only 5% for our UI closed-source code.
  16. Vivaldi 5.3: Tweak and tune your browser with the new Editable Toolbars. Vivaldi. 1 June 2022. สืบค้นเมื่อ 2 October 2022 – โดยทาง YouTube.
  17. What's New in Vivaldi | April 2022. Vivaldi. 2022-04-06. สืบค้นเมื่อ 2022-10-03 – โดยทาง YouTube.
  18. Shankland, Stephen (January 27, 2015). "Ex-Opera CEO composes Vivaldi, a new Web browser". CNET. CBS Interactive. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ January 27, 2015.
  19. 19.0 19.1 "Vivaldi: testamos o navegador de internet que tem personalização completa". Tecmundo (ภาษาโปรตุเกส). Grupo NZN. November 4, 2015. สืบค้นเมื่อ November 7, 2015. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่สมเหตุสมผล มีนิยามชื่อ "Tecmundo" หลายครั้งด้วยเนื้อหาต่างกัน
  20. "We're in Control". vivaldi.com (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ August 22, 2021.
  21. Shankland, Stephen (23 January 2014). "Ex-CEO picks up where Opera left off, launching Vivaldi site". CNET. CBS Interactive.
  22. "Vivaldi Tech Preview 1 Just Arrived". Vivaldi Technologies. 27 January 2015. สืบค้นเมื่อ 28 August 2022.
  23. Dagenborg, Joachim (6 February 2015). "Vivaldi browser hits 500,000 downloads in first 10 days". Reuters. Oslo, Norway. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 February 2015. สืบค้นเมื่อ 2 May 2015.
  24. Borisov, Bobby (9 September 2021). "Manjaro Cinnamon Edition Decided to Switch from Firefox to Vivaldi". Linuxiac. สืบค้นเมื่อ 13 October 2023.
  25. Gilbertson, Scott (April 28, 2016). "Even at 1.0, Vivaldi closes in on the cure for the common browser". Ars Technica. สืบค้นเมื่อ April 29, 2016.
  26. Gilbertson, Scott (October 19, 2018). "Vivaldi 2.0 review: The modern Web browser does not have to be so bland". Ars Technica. สืบค้นเมื่อ October 19, 2018.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]