วอลเลย์บอลหญิงในโอลิมปิกฤดูร้อน 2020 รอบคัดเลือก โซนเอเชีย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
วอลเลย์บอลหญิงในโอลิมปิกรอบคัดเลือกโซนเอเชีย 2020
2020 Women's Asian Continental Olympic Qualification Tournament
รายละเอียด
ประเทศเจ้าภาพ ไทย
วันที่7–12 มกราคม 2020
ทีม8
สถานที่(ใน 1 เมืองเจ้าภาพ)
ครั้งแรก

การแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงในโอลิมปิกรอบคัดเลือกโซนเอเชีย 2020 เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลในทวีปเอเชียเพื่อคัดเลือกทีมวอลเลย์บอลหญิงเข้าแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 2020 ซึ่งอยู่ภายใต้การดูแลของสหพันธ์วอลเลย์บอลระหว่างประเทศ และสมาพันธ์วอลเลย์บอลเอเชีย โดยจะมีเพียงหนึ่งทีมที่ผ่านการคัดเลือกเข้าแข่งขันรอบสุดท้ายในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 2020[1] จะมีกำหนดจัดขึ้นที่จังหวัดนครราชสีมา ประเทศไทย ระหว่างวันที่ 7–12 มกราคม ค.ศ. 2020[2]

การคัดเลือก[แก้]

ทีมที่มีสิทธิ์คัดเลือก[แก้]

อันดับ ทีม
1 ธงชาติไทย ไทย
2 ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้
3 ธงชาติคาซัคสถาน คาซัคสถาน
4 ธงชาติจีนไทเป จีนไทเป
5 ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน
6 ธงชาติอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย
7 ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
8 ธงชาติฮ่องกง ฮ่องกง

ทีมที่ผ่านการคัดเลือกโดยไม่ต้องเข้าร่วมการแข่งขัน[แก้]

ทีม หมายเหตุ
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น เจ้าภาพ
ธงชาติจีน จีน ผ่านการคัดเลือกรอบคัดเลือกระหว่างทวีป

สนามแข่งขัน[แก้]

จังหวัดนครราชสีมา
โคราช ชาติชาย ฮอลล์
ความจุ: 5000 ที่นั่ง

การตัดสินลำดับจากผลการแข่งขัน[แก้]

  1. จำนวนแมตช์ที่ชนะ
  2. คะแนน
    • แมตช์ที่ชนะด้วยผล 3–0 หรือ 3–1: ทีมที่ชนะจะได้ 3 คะแนน ส่วนทีมที่แพ้จะไม่ได้คะแนน
    • แมตช์ที่ชนะด้วยผล 3–2: ทีมที่ชนะจะได้ 2 คะแนน ส่วนทีมที่แพ้จะได้ 1 คะแนน
  3. ถ้าหากผลการแข่งขันเท่ากัน จะพิจารณาตามเกณฑ์ต่อไปนี้
    • อัตราส่วนเซตที่ชนะต่อแพ้
    • อัตราส่วนคะแนนที่ทำได้ในแมตช์ต่อคะแนนที่เสีย

การแบ่งกลุ่ม[แก้]

การจับสลากแบ่งกลุ่มอาศัยอันดับจากวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์เอเชีย 2019 โดยเจ้าภาพและอีก 3 ทีมจะได้รับให้เป็นทีมวางของแต่ละกลุ่มโดยใช้วิธีสลับฟันปลา และอีก 3 ทีมที่เหลือได้ทำการจับฉลากในวันที่ 28 ตุลาคม ค.ศ. 2019 ณ กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย[3] โดยตัวเลขในวงเล็บเป็นลำดับจากการแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์เอเชีย 2019

กลุ่มเอ กลุ่มบี
ธงชาติไทย ไทย (เจ้าภาพ; 2) ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ (3)
ธงชาติจีนไทเป จีนไทเป (6) ธงชาติคาซัคสถาน คาซัคสถาน (5)
ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย (9) ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน (7)
  ธงชาติอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย (8)

รอบแรก[แก้]

  • เวลาการแข่งขันในท้องถิ่น UTC+07:00 (ตามเวลาประเทศไทย)
ผ่านเข้ารอบสู่รอบสุดท้าย

กลุ่มเอ[แก้]

แข่ง แต้ม เซต แต้ม
อันดับ ทีม ชนะ แพ้ ชนะ แพ้ อัตราส่วน ชนะ แพ้ อัตราส่วน
1 ธงชาติไทย ไทย 2 0 6 6 0 MAX 150 93 1.613
2 ธงชาติจีนไทเป จีนไทเป 1 1 3 3 3 1.000 128 127 1.008
3 ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 0 2 0 0 6 0.000 52 150 0.347
วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
7 ม.ค. 18:00 ไทย ธงชาติไทย 3–0 ธงชาติจีนไทเป จีนไทเป 25–16 25–21 25–16     75–53 P2
8 ม.ค. 18:00 ออสเตรเลีย ธงชาติออสเตรเลีย 0–3 ธงชาติจีนไทเป จีนไทเป 20–25 18–25 14–25     52–75 P2
9 ม.ค. 18:00 ไทย ธงชาติไทย 3–0 ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 25–12 25–15 25–13     75–40 P2

กลุ่มบี[แก้]

แข่ง แต้ม เซต แต้ม
อันดับ ทีม ชนะ แพ้ ชนะ แพ้ อัตราส่วน ชนะ แพ้ อัตราส่วน
1 ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 3 0 9 9 0 MAX 225 137 1.642
2 ธงชาติคาซัคสถาน คาซัคสถาน 2 1 6 6 3 2.000 207 182 1.137
3 ธงชาติอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย 1 2 2 3 8 0.375 210 249 0.843
4 ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน 0 3 1 2 9 0.222 186 260 0.715
วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
7 ม.ค. 13:00 อิหร่าน ธงชาติอิหร่าน 0–3 ธงชาติคาซัคสถาน คาซัคสถาน 14–25 16–25 14–25     44–75 P2
7 ม.ค. 15:30 เกาหลีใต้ ธงชาติเกาหลีใต้ 3–0 ธงชาติอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย 25–18 25–10 25–9     75–37 P2
8 ม.ค. 13:00 อินโดนีเซีย ธงชาติอินโดนีเซีย 0–3 ธงชาติคาซัคสถาน คาซัคสถาน 22–25 23–25 18–25     63–75 P2
8 ม.ค. 15:30 เกาหลีใต้ ธงชาติเกาหลีใต้ 3–0 ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน 25–15 25–9 25–19     75–43 P2
9 ม.ค. 13:00 อิหร่าน ธงชาติอิหร่าน 2–3 ธงชาติอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย 21–25 15–25 25–21 26–24 12–15 99–110 P2
9 ม.ค. 15:30 คาซัคสถาน ธงชาติคาซัคสถาน 0–3 ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 20–25 16–25 21–25     57–75 P2

รอบสุดท้าย[แก้]

  รอบรองชนะเลิศ รอบชิงชนะเลิศ
11 January
 ธงชาติไทย ไทย  3  
 ธงชาติคาซัคสถาน คาซัคสถาน  1  
 
12 มกราคม
     ธงชาติไทย ไทย  0
   ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้  3
Third place
11 January 12 มกราคม
 ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้  3  ธงชาติจีนไทเป จีนไทเป  1
 ธงชาติจีนไทเป จีนไทเป  1    ธงชาติคาซัคสถาน คาซัคสถาน  3

รอบรองชนะเลิศ[แก้]

วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
11 ม.ค. 15:30 ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 3–1 ธงชาติจีนไทเป จีนไทเป 18–25 25–9 25–15 25–14   93–63 P2
11 ม.ค. 18:00 ธงชาติไทย ไทย 3–1 ธงชาติคาซัคสถาน คาซัคสถาน 25–21 25–20 24–26 25–21   99–88 P2

รอบชิงอันดับที่ 3[แก้]

วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
12 ม.ค. 15:30 ธงชาติจีนไทเป จีนไทเป 1–3 ธงชาติคาซัคสถาน คาซัคสถาน 21–25 25–22 21–25 25–27   92–99 P2

รอบชิงชนะเลิศ[แก้]

วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
12 ม.ค. 18:00 ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 3–0 ธงชาติไทย ไทย 25–22 25–20 25–20     75–62 P2

อันดับการแข่งขัน[แก้]

อันดับ ทีม
1 ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้
2 ธงชาติไทย ไทย
3 ธงชาติคาซัคสถาน คาซัคสถาน
4 ธงชาติจีนไทเป จีนไทเป
5 ธงชาติอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย
6 ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน
7 ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
ผ่านการคัดเลือกเข้าแข่งขัน โอลิมปิกฤดูร้อน 2020

การถ่ายทอดสด[แก้]

สำหรับรายการถ่ายทอดสดวอลเลย์บอลหญิงในโอลิมปิกฤดูร้อน 2020 รอบคัดเลือกโซนเอเชียในประเทศไทย มีดังนี้

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Qualification System – Games of the XXXII Olympiad – Tokyo 2020" (PDF). fivb.org. 23 September 2018. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2019-03-20. สืบค้นเมื่อ 2019-08-18.
  2. "OFFICIAL : ไม่ต้องรอนาน! FIVB ยืนยันไทย เจ้าภาพคัด อลป.เอเชีย". smmsport.com. สืบค้นเมื่อ 9 September 2019.[ลิงก์เสีย]
  3. "ดีเดย์ ! เลขาลูกยางเอเชียเผยวันจับสลากคัดโอลิมปิกโซนเอเชีย". smmsport.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-10-26. สืบค้นเมื่อ 26 ตุลาคม 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]