ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2531

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2531
แผนที่สรุปฤดูกาล
ขอบเขตฤดูกาล
ระบบแรกก่อตัว7 มกราคม พ.ศ. 2531
ระบบสุดท้ายสลายตัว27 ธันวาคม พ.ศ. 2531
พายุมีกำลังมากที่สุด
ชื่อเนลสัน
 • ลมแรงสูงสุด185 กม./ชม. (115 ไมล์/ชม.)
(เฉลี่ย 10 นาที)
 • ความกดอากาศต่ำที่สุด915 hPa (มิลลิบาร์)
สถิติฤดูกาล
พายุดีเปรสชันทั้งหมดทางการ 52 ลูก, ไม่เป็นทางการ 1 ลูก
พายุโซนร้อนทั้งหมดทางการ 31 ลูก, ไม่เป็นทางการ 1 ลูก
พายุไต้ฝุ่น11 ลูก
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่น1 ลูก (ไม่เป็นทางการ)
ผู้เสียชีวิตทั้งหมดมากกว่า 786 คน
ความเสียหายทั้งหมด≥ 503.9 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
(ค่าเงิน USD ปี 1988)
ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก
2529, 2530, 2531, 2532, 2533

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2531 เป็นฤดูกาลที่ไม่การกำหนดขอบเขตอย่างเป็นทางการ โดยดำเนินอยู่ภายในปี พ.ศ. 2531 แต่พายุหมุนเขตร้อนส่วนใหญ่มีแนวโน้มก่อตัวขึ้นภายในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ ระหว่างเดือนพฤษภาคมถึงเดือนพฤศจิกายน[1] วันเหล่านี้ถือเป็นธรรมเนียมในการกำหนดขอบเขตของแต่ละฤดูกาล เมื่อพายุหมุนเขตร้อนก่อตัวขึ้นภายในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ

ขอบเขตของบทความนี้จำกัดเฉพาะบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกที่อยู่เหนือเส้นศูนย์สูตร ทางฝั่งตะวันตกของเส้นแบ่งเขตวันสากล ส่วนพายุใดที่ก่อตัวขึ้นทางฝั่งตะวันออกของเส้นดังกล่าวจะเรียกว่า พายุเฮอร์ริเคน (ดูที่ ฤดูพายุเฮอร์ริเคนแปซิฟิก พ.ศ. 2531) ในช่วงเวลานี้ พายุใดที่ทวีกำลังแรงขึ้นเป็นพายุโซนร้อนในมหาสมุทรตะวันตกจะได้รับชื่อจากศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วม ส่วนพายุดีเปรสชันเขตร้อนใดที่ก่อตัวขึ้นในแอ่งนี้จะได้รับการกำหนดหมายเลขและเติมตัวอักษร "W" ต่อท้ายเป็นรหัสเรียก ส่วนพายุดีเปรสชันเขตร้อนลูกใดที่ก่อตัวขึ้นหรือเคลื่อนตัวเข้าไปภายในพื้นที่รับผิดชอบของฟิลิปปินส์ พายุลูกนั้นจะได้รับชื่อจากสำนักงานบริหารบรรยากาศ ธรณีฟิสิกส์ และดาราศาสตร์แห่งฟิลิปปินส์ หรือ PAGASA ด้วย ด้วยเหตุนี้พายุเพียงหนึ่งลูก อาจมีชื่อถึงสองชื่อก็ได้

ภาพรวมฤดูกาล[แก้]

มาตราพายุหมุนเขตร้อนในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก (คณะกรรมการไต้ฝุ่น)
  พายุดีเปรสชัน (≤61 กม./ชม.)   พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (118–156 กม./ชม.)
  พายุโซนร้อน (62–88 กม./ชม.)   พายุไต้ฝุ่นกำลังแรงอย่างมาก (157–193 กม./ชม.)
  พายุโซนร้อนกำลังแรง (89–117 กม./ชม.)   พายุไต้ฝุ่นรุนแรง (≥194 กม./ชม.)

พายุ[แก้]

พายุไต้ฝุ่นรอย (อาเซียง)[แก้]

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรงอย่างมาก (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา 7 – 19 มกราคม
ความรุนแรง 155 กม./ชม. (100 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
940 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.76 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นซูซาน (บีริง)[แก้]

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 28 พฤษภาคม – 3 มิถุนายน
ความรุนแรง 120 กม./ชม. (75 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
970 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.64 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อน 03W (โกนซิง)[แก้]

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 3 – 6 มิถุนายน
ความรุนแรง 65 กม./ชม. (40 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1000 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.53 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นแทด (ดีตัง)[แก้]

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 17 – 25 มิถุนายน
ความรุนแรง 130 กม./ชม. (80 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
970 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.64 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกำลังแรงวาเนซซา (เอเดง)[แก้]

พายุโซนร้อนกำลังแรง (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 25 – 29 มิถุนายน
ความรุนแรง 100 กม./ชม. (65 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
990 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.23 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นวอร์เรน (ฮัวนิง)[แก้]

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรงอย่างมาก (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา 11 – 20 กรกฎาคม
ความรุนแรง 165 กม./ชม. (105 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
940 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.76 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกำลังแรงแอกเนส[แก้]

พายุโซนร้อนกำลังแรง (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 27 กรกฎาคม – 1 สิงหาคม
ความรุนแรง 95 กม./ชม. (60 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
975 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.79 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนลูกที่แปด[แก้]

พายุโซนร้อน (JMA)
ระยะเวลา 30 กรกฎาคม – 3 สิงหาคม[2]
ความรุนแรง 65 กม./ชม. (40 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
998 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.47 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนบิล (อีซัง)[แก้]

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 4 – 9 สิงหาคม
ความรุนแรง 85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
985 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.09 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนแคลรา[แก้]

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 5 – 16 สิงหาคม
ความรุนแรง 75 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
994 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.35 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนลูกที่สิบเอ็ด[แก้]

พายุโซนร้อน (JMA)
Counterclockwise vortex
ระยะเวลา 13 – 18 สิงหาคม
ความรุนแรง 65 กม./ชม. (40 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1000 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.53 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นดอยล์[แก้]

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรงอย่างมาก (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา 13 – 24 สิงหาคม
ความรุนแรง 165 กม./ชม. (105 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
930 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.46 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนลูกที่สิบสาม[แก้]

พายุโซนร้อน (JMA)
Counterclockwise vortex
ระยะเวลา 13 – 16 สิงหาคม
ความรุนแรง 65 กม./ชม. (40 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1000 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.53 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนเอลซี[แก้]

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 26 สิงหาคม – 1 กันยายน
ความรุนแรง 85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
992 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.29 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกำลังแรงฟาเบียน[แก้]

พายุโซนร้อนกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 26 สิงหาคม – 3 กันยายน
ความรุนแรง 110 กม./ชม. (70 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
970 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.64 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนเกย์[แก้]

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 2 – 7 กันยายน
ความรุนแรง 75 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
996 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.41 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นอูเลกี[แก้]

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 2 (SSHWS)
ระยะเวลา 8 ((เข้ามาในแอ่ง)) – 16 กันยายน
ความรุนแรง 130 กม./ชม. (80 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
945 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.91 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นแฮล[แก้]

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรงอย่างมาก (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 3 (SSHWS)
ระยะเวลา 8 – 17 กันยายน
ความรุนแรง 155 กม./ชม. (100 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
945 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.91 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกำลังแรงเออร์มา[แก้]

พายุโซนร้อนกำลังแรง (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 11 – 17 กันยายน
ความรุนแรง 100 กม./ชม. (65 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
990 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.23 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนเจฟฟ์ (ลูซิง)[แก้]

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 11 – 17 กันยายน
ความรุนแรง 85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
994 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.35 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกำลังแรงคิต (มาริง)[แก้]

พายุโซนร้อนกำลังแรง (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 19 – 22 กันยายน
ความรุนแรง 100 กม./ชม. (65 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
980 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.94 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกำลังแรงลี (นิงนิง)[แก้]

พายุโซนร้อนกำลังแรง (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 19 – 25 กันยายน
ความรุนแรง 95 กม./ชม. (60 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
990 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.23 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนแมมี[แก้]

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 19 – 24 กันยายน
ความรุนแรง 85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
990 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.23 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นเนลสัน (ปาริง)[แก้]

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรงอย่างมาก (JMA)
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 5 (SSHWS)
ระยะเวลา 30 กันยายน – 8 ตุลาคม
ความรุนแรง 185 กม./ชม. (115 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
915 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.02 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นโอเดสซา (เซเนียง)[แก้]

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 2 (SSHWS)
ระยะเวลา 8 – 16 ตุลาคม
ความรุนแรง 130 กม./ชม. (80 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
965 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.5 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกำลังแรงแพท (โตยัง)[แก้]

พายุโซนร้อนกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 16 – 22 ตุลาคม
ความรุนแรง 110 กม./ชม. (70 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
980 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.94 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นรูบี้ (ยูนซัง)[แก้]

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา 20 – 28 ตุลาคม
ความรุนแรง 140 กม./ชม. (85 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
950 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.05 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นสคีป (โยนิง)[แก้]

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา 3 – 12 พฤศจิกายน
ความรุนแรง 150 กม./ชม. (90 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
950 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.05 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกำลังแรงเทสส์ (เวลปริง)[แก้]

พายุโซนร้อนกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 1 – 6 พฤศจิกายน
ความรุนแรง 110 กม./ชม. (70 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
975 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.79 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนแวล (อาเปียง)[แก้]

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 21 – 25 ธันวาคม
ความรุนแรง 85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
992 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.29 นิ้วปรอท)

รายชื่อพายุ[แก้]

ในฤดูกาลนี้มีชื่อถูกใช้ไปทั้งสิ้น 26 ชื่อ โดยศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วมเป็นผู้ตั้งชื่อให้กับพายุหมุนเขตร้อนเหล่านี้ เมื่อระบบดังกล่าวมีความรุนแรงถึงระดับพายุโซนร้อนแล้ว รายชื่อเหล่านี้เป็นชุดรายชื่อฉบับแก้ไข เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2522

ศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วม[แก้]

รหัสเรียกพายุเป็นตัวเลขสี่หลัก สองหลักแรกเป็นตัวย่อของฤดูกาลนี้ในระบบปีคริสต์ศักราช (ค.ศ. 1988) และสองตัวหลังเป็นหมายเลขของพายุตามลำดับของกรมอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น[3] ส่วนรหัสเรียกพายุที่เป็นตัวเลขต่อท้ายด้วยตัวอักษร W กำหนดโดยศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วม[2]

รายชื่อพายุหมุนเขตร้อนสากลของมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกในฤดูกาล 2531
รหัสเรียก ชื่อพายุ รหัสเรียก ชื่อพายุ รหัสเรียก ชื่อพายุ รหัสเรียก ชื่อพายุ รหัสเรียก ชื่อพายุ
8801
(01W)
รอย
(Roy)
8809
(08W)
บิลล์
(Bill)
8818
(14W)
แฮล
(Hal)
8824
(20W)
เนลสัน
(Nelson)
8831
(26W)
แวล
(Val)
8802
(02W)
ซูซาน
(Susan)
8810
(09W)
แคลรา
(Clara)
8819
(15W)
เออร์มา
(Irma)
8826
(21W)
โอเดสซา
(Odessa)
8804
(04W)
แทด
(Thad)
8812
(10W)
ดอยล์
(Doyle)
8820
(16W)
เจฟฟ์
(Jeff)
8827
(22W)
แพท
(Pat)
8805
(05W)
วาเนสซา
(Vanessa)
8814
(11W)
เอลซี
(Elsie)
8821
(17W)
คิต
(Kit)
8828
(23W)
รูบี้
(Ruby)
8806
(06W)
วอร์เรน
(Warren)
8815
(12W)
ฟาเบียน
(Fabian)
8822
(18W)
ลี
(Lee)
8829
(24W)
สคีป
(Skip)
8807
(07W)
แอกเนส
(Agnes)
8816
(13W)
เกย์
(Gay)
8823
(19W)
แมมี
(Mamie)
8830
(25W)
เทสส์
(Tess)

หมายเหตุ: รหัสเรียกที่ 8817 ถูกใช้กับพายุเฮอร์ริเคนอูเลกี (01C) หลังจากที่พายุดังกล่าวเคลื่อนข้ามเส้นแบ่งวันสากลเข้ามาในแอ่ง ส่วนรหัสเรียกที่ 8803, 8808, 8811, 8813 และ 8825 ถูกใช้กับพายุโซนร้อนที่ไม่ได้ติดตามโดยศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วม พายุเหล่านั้นจึงไม่ได้รับชื่อตามระบบการตั้งชื่อแบบเดิม

ฟิลิปปินส์[แก้]

สำนักงานบริหารบรรยากาศ ธรณีฟิสิกส์ และดาราศาสตร์แห่งฟิลิปปินส์ (PAGASA) จะใช้ชื่อของตัวเองหากมีพายุใดก่อตัวหรือเคลื่อนผ่านพื้นที่รับผิดชอบของตน[4] โดย PAGASA จะตั้งชื่อพายุให้กับพายุดีเปรสชันเขตร้อนที่ก่อตัวขึ้นภายในพื้นที่รับผิดชอบของตน และพายุหมุนเขตร้อนใดก็ตามที่เคลื่อนตัวผ่านพื้นที่ดังกล่าว โดยชื่อที่ใช้ถูกนำมาจากรายชื่อที่เป็นรายชื่อเดียวกับที่ถูกใช้ไปในฤดูกาล ค.ศ. 1984 (พ.ศ. 2527) ซึ่งชื่อใดในชุดนี้ที่ไม่ถูกถอนจะถูกนำกลับมาใช้ใหม่อีกครั้งในปี ค.ศ. 1992 (พ.ศ. 2535) โดย PAGASA ใช้รูปแบบการตั้งชื่อของตัวเองแบบเรียงตามตัวอักษรฟิลิปิโน (A, B, K, D เป็นต้น) เป็นชื่อผู้หญิงในภาษาฟิลิปิโน ซึ่งลงท้ายด้วยอักษร "ng" โดยชื่อที่ไม่ถูกใช้จะทำเป็น อักษรสีเทา

รายชื่อพายุหมุนเขตร้อนท้องถิ่นฟิลิปปินส์ในฤดูกาล 2531
อาเซียง (Asiang) โกลริง (Gloring) นิงนิง (Ningning) โตยัง (Toyang)
บีริง (Biring) ฮัวนิง (Huaning) โอซัง (Osang) ยูนซัง (Unsang)
โกนซิง (Konsing) อีซัง (Isang) ปาริง (Paring) เวลปริง (Welpring)
ดีตัง (Ditang) ลูซิง (Lusing) เรมิง (Reming) โยนิง (Yoning)
เอเดง (Edeng) มาริง (Maring) เซเนียง (Seniang)
รายชื่อเพิ่มเติม
อาเปียง (Apiang) บาเชียง (Basiang) (ไม่ถูกใช้)
กายัง (Kayang) (ไม่ถูกใช้) โดรัง (Dorang) (ไม่ถูกใช้) เอนัง (Enang) (ไม่ถูกใช้) กราซิง (Grasing) (ไม่ถูกใช้)

การถอนชื่อ[แก้]

เนื่องจากพายุไต้ฝุ่นยูนซัง และ โยนิง สร้างความเสียหายและทำให้มียอดผู้เสียชีวิตจำนวนมากในประเทศฟิลิปปินส์ PAGASA จึงถอนชื่อ ยูนซัง และ โยนิง ออกจากชุดรายชื่อ และเลือกชื่อ ยูลเปียง (Ulpiang) และ เยร์ลิง (Yerling) มาใช้แทนตามลำดับ

ผลกระทบ[แก้]

ตารางนี้รวมเอาทั้งหมดของระบบพายุที่ก่อตัวภายใน หรือ เคลื่อนตัวเข้ามาในมหาสมุทรแปซิฟิกเหนือ ทางฝั่งตะวันตกของเส้นแบ่งวันสากล ภายในปี พ.ศ. 2530 ตารางนี้ยังมีภาพรวมของความรุนแรงของระบบ ระยะเวลา บริเวณที่มีผลกระทบกับแผ่นดิน และจำนวนความเสียหายหรือจำนวนผู้เสียชีวิตใด ๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบพายุ ส่วนตัวเลขมูลค่าความเสียหายถูกปรับเป็นค่าเงินดอลลาร์สหรัฐ ค.ศ. 1988 (พ.ศ. 2531)

ชื่อพายุ ช่วงวันที่ ระดับความรุนแรง
ขณะมีกำลังสูงสุด
ความเร็วลมต่อเนื่อง
(เฉลี่ย 10 นาที)
ความกดอากาศ พื้นที่ผลกระทบ ความเสียหาย
(USD)
ผู้เสียชีวิต อ้างอิง
รอย
(อาเซียง)
7 – 19 มกราคม พายุไต้ฝุ่น 155 กม./ชม. 940 hPa (27.76 นิ้วปรอท) หมู่เกาะมาร์แชลล์, หมู่เกาะมาเรียนา, หมู่เกาะแคโรไลน์, ฟิลิปปินส์ &000000002850000000000028.5 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 2
ซูซาน
(บีริง)
28 พฤษภาคม – 3 มิถุนายน พายุไต้ฝุ่น 120 กม./ชม. 975 hPa (28.79 นิ้วปรอท) ฟิลิปปินส์, ไต้หวัน, หมู่เกาะรีวกีว ไม่มี 6
03W
(โกนซิง)
3 – 6 มิถุนายน พายุโซนร้อน 65 กม./ชม. 1000 hPa (29.53 นิ้วปรอท) ฟิลิปปินส์, ไต้หวัน &0000000000000000000000 ไม่มี ไม่มี
แทด
(ดีตัง)
17 – 25 มิถุนายน พายุไต้ฝุ่น 130 กม./ชม. 970 hPa (28.64 นิ้วปรอท) ฟิลิปปินส์ ไม่มี ไม่มี
TD 22 – 26 มิถุนายน พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1004 hPa (29.65 นิ้วปรอท) ไม่มี ไม่มี ไม่มี
วาเนสซา
(เอเดง)
26 – 29 มิถุนายน พายุโซนร้อนกำลังแรง 100 กม./ชม. 990 hPa (29.23 นิ้วปรอท) ฟิลิปปินส์, ภาคใต้ของจีน &0000000000000000000000 ไม่มี ไม่มี
โกลริง 6 – 9 กรกฎาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน 45 กม./ชม. 1000 hPa (29.53 นิ้วปรอท) ไต้หวัน ไม่มี ไม่มี
วอร์เรน
(ฮัวนิง)
12 – 20 กรกฎาคม พายุไต้ฝุ่น 165 กม./ชม. 940 hPa (27.76 นิ้วปรอท) หมู่เกาะมาเรียนา, หมู่เกาะแคโรไลน์, ฟิลิปปินส์, ไต้หวัน, จีน &000000001000000000000010 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 17
TD 25 – 28 กรกฎาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 998 hPa (29.47 นิ้วปรอท) ไม่มี ไม่มี ไม่มี
แอ็กเนส 27 กรกฎาคม – 1 สิงหาคม พายุโซนร้อนกำลังแรง 95 กม./ชม. 975 hPa (28.79 นิ้วปรอท) ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี ไม่มี
TD 29 – 30 กรกฎาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1002 hPa (29.59 นิ้วปรอท) ไม่มี ไม่มี ไม่มี
ลูกที่แปด 1 – 3 สิงหาคม พายุโซนร้อน 65 กม./ชม. 998 hPa (29.47 นิ้วปรอท) ญี่ปุ่น &0000000000000000000000 ไม่มี ไม่มี
TD 1 – 3 สิงหาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1002 hPa (29.59 นิ้วปรอท) ตอนใต้ของจีน ไม่มี ไม่มี
TD 4 – 6 สิงหาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1004 hPa (29.65 นิ้วปรอท) หมู่เกาะรีวกีว ไม่มี ไม่มี
บิลล์
(อีซัง)
4 – 9 สิงหาคม พายุโซนร้อน 85 กม./ชม. 985 hPa (29.09 นิ้วปรอท) หมู่เกาะรีวกีว, ภาคตะวันออกของจีน &0000000000000000000000 ไม่มี 110
แคลรา 5 – 16 สิงหาคม พายุโซนร้อน 75 กม./ชม. 994 hPa (29.35 นิ้วปรอท) ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี ไม่มี
TD 6 – 16 สิงหาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1000 hPa (29.53 นิ้วปรอท) ญี่ปุ่น ไม่มี ไม่มี
TD 9 สิงหาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1000 hPa (29.53 นิ้วปรอท) ไม่มี ไม่มี ไม่มี
TD 10 – 13 สิงหาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1002 hPa (29.59 นิ้วปรอท) ตอนใต้ของจีน ไม่มี ไม่มี
TD 12 – 13 สิงหาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1002 hPa (29.59 นิ้วปรอท) ญี่ปุ่น ไม่มี ไม่มี
TD 12 – 14 สิงหาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1002 hPa (29.59 นิ้วปรอท) ญี่ปุ่น ไม่มี ไม่มี
ลูกที่สิบเอ็ด 13 – 18 สิงหาคม พายุโซนร้อน 65 กม./ชม. 1000 hPa (29.53 นิ้วปรอท) ญี่ปุ่น &0000000000000000000000 ไม่มี ไม่มี
ดอยล์ 13 – 24 สิงหาคม พายุไต้ฝุ่น 165 กม./ชม. 930 hPa (27.46 นิ้วปรอท) ไม่มี ไม่มี ไม่มี
TD 13 สิงหาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1004 hPa (29.65 นิ้วปรอท) ญี่ปุ่น ไม่มี ไม่มี
ลูกที่สิบสาม 13 – 16 สิงหาคม พายุโซนร้อน 65 กม./ชม. 1000 hPa (29.53 นิ้วปรอท) ญี่ปุ่น &0000000000000000000000 ไม่มี ไม่มี
TD 15 – 16 สิงหาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1010 hPa (29.83 นิ้วปรอท) ไม่มี ไม่มี ไม่มี
TD 18 สิงหาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1006 hPa (29.71 นิ้วปรอท) ไม่มี ไม่มี ไม่มี
ฟาเบียน 24 สิงหาคม – 3 กันยายน พายุโซนร้อนกำลังแรง 110 กม./ชม. 970 hPa (28.64 นิ้วปรอท) ญี่ปุ่น &0000000000000000000000 ไม่มี ไม่มี
เอลซี 26 สิงหาคม – 1 กันยายน พายุโซนร้อน 85 กม./ชม. 992 hPa (29.29 นิ้วปรอท) ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี ไม่มี
เกย์ 2 – 4 กันยายน พายุโซนร้อน 75 กม./ชม. 996 hPa (29.41 นิ้วปรอท) ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี ไม่มี
TD 3 – 6 กันยายน พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1010 hPa (29.83 นิ้วปรอท) ไม่มี ไม่มี ไม่มี
อูเลกี 8 – 16 กันยายน พายุไต้ฝุ่น 130 กม./ชม. 945 hPa (27.91 นิ้วปรอท) เกาะเวก ไม่มี ไม่มี
แฮล 8 – 17 กันยายน พายุไต้ฝุ่น 155 กม./ชม. 945 hPa (27.91 นิ้วปรอท) ญี่ปุ่น ไม่มี ไม่มี
TD 9 – 10 กันยายน พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1008 hPa (29.77 นิ้วปรอท) ญี่ปุ่น ไม่มี ไม่มี
เออร์มา 11 – 17 กันยายน พายุโซนร้อนกำลังแรง 100 กม./ชม. 990 hPa (29.23 นิ้วปรอท) ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี ไม่มี
เจฟฟ์
(ลูซิง)
11 – 17 กันยายน พายุโซนร้อน 85 กม./ชม. 994 hPa (29.35 นิ้วปรอท) ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี ไม่มี
คิต
(มาริง)
19 – 22 กันยายน พายุโซนร้อนกำลังแรง 100 กม./ชม. 980 hPa (28.94 นิ้วปรอท) ฟิลิปปินส์, ภาคใต้ของจีน &0000000000000000000000 ไม่มี 3
ลี
(นิงนิง)
19 – 25 กันยายน พายุโซนร้อนกำลังแรง 95 กม./ชม. 990 hPa (29.23 นิ้วปรอท) หมู่เกาะมาเรียนา, หมู่เกาะรีวกีว &0000000000000000000000 ไม่มี ไม่มี
แมมี 19 – 24 กันยายน พายุโซนร้อน 85 กม./ชม. 990 hPa (29.23 นิ้วปรอท) ภาคใต้ของจีน, เวียดนาม &0000000000000000000000 ไม่มี ไม่มี
TD 23 – 24 กันยายน พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1002 hPa (29.59 นิ้วปรอท) ไม่มี ไม่มี ไม่มี
TD 28 กันยายน – 3 ตุลาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน 45 กม./ชม. 1000 hPa (29.53 นิ้วปรอท) ฟิลิปปินส์, เวียดนาม, ภาคใต้ของจีน ไม่มี ไม่มี
เนลสัน
(ปาริง)
30 กันยายน – 9 ตุลาคม พายุไต้ฝุ่น 185 กม./ชม. 915 hPa (27.02 นิ้วปรอท) ฟิลิปปินส์, ญี่ปุ่น ไม่มี ไม่มี
โอซัง 1 – 2 ตุลาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1004 hPa (29.65 นิ้วปรอท) ฟิลิปปินส์ ไม่มี ไม่มี
TD 6 – 7 ตุลาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1002 hPa (29.59 นิ้วปรอท) ไม่มี ไม่มี ไม่มี
ลูกที่ยี่สิบห้า 7 – 10 ตุลาคม พายุโซนร้อน 85 กม./ชม. 992 hPa (29.29 นิ้วปรอท) เวียดนาม &0000000000000000000000 ไม่มี ไม่มี
เรมิง 8 ตุลาคม พายุโซนร้อน 65 กม./ชม. 1006 hPa (29.71 นิ้วปรอท) ฟิลิปปินส์ &0000000000000000000000 ไม่มี ไม่มี
โอเดสซา
(เซเนียง)
8 – 19 ตุลาคม พายุไต้ฝุ่น 130 กม./ชม. 965 hPa (28.50 นิ้วปรอท) หมู่เกาะมาเรียนา ไม่มี ไม่มี
TD 15 – 17 ตุลาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1004 hPa (29.65 นิ้วปรอท) เวียดนาม, กัมพูชา, ไทย ไม่มี ไม่มี
แพท
(โตยัง)
17 – 23 ตุลาคม พายุโซนร้อนกำลังแรง 110 กม./ชม. 980 hPa (28.94 นิ้วปรอท) ฟิลิปปินส์, จีน, เวียดนาม &0000000000000000000000 ไม่มี ไม่มี
รูบี้
(ยูนซัง)
20 – 29 ตุลาคม พายุไต้ฝุ่น 140 กม./ชม. 950 hPa (28.05 นิ้วปรอท) ฟิลิปปินส์, ภาคใต้ของจีน &0000000311000000000000311 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 288
เทสส์
(เวลปริง)
1 – 7 พฤศจิกายน พายุโซนร้อนกำลังแรง 110 กม./ชม. 975 hPa (28.79 นิ้วปรอท) ฟิลิปปินส์, เวียดนาม &000000002238000000000022.4 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 123
สคีป
(โยนิง)
3 – 12 พฤศจิกายน พายุไต้ฝุ่น 140 กม./ชม. 950 hPa (28.05 นิ้วปรอท) ฟิลิปปินส์, เวียดนาม &0000000131800000000000132 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 237
TD 11 – 12 ธันวาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1004 hPa (29.65 นิ้วปรอท) ไม่มี ไม่มี ไม่มี
แวล
(อาเปียง)
22 – 27 ธันวาคม พายุโซนร้อน 85 กม./ชม. 992 hPa (29.29 นิ้วปรอท) ฟิลิปปินส์ &0000000000000000000000 ไม่มี ไม่มี
สรุปฤดูกาล
52 ลูก 7 มกราคม – 27 ธันวาคม   185 กม./ชม. 915 hPa (27.02 นิ้วปรอท)   >&0000000503900000000000504 ล้านดอลลาร์สหรัฐ >786


ดูเพิ่ม[แก้]

หมายเหตุ[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. Gary Padgett. May 2003 Tropical Cyclone Summary. เก็บถาวร 2010-11-30 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Retrieved 2006-08-26.
  2. 2.0 2.1 Joint Typhoon Warning Center; Naval Pacific Meteorology and Oceanography Center (1989). Annual Tropical Cyclone Report: 1988 (PDF) (Report). United States Navy, United States Air Force. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2013-04-09. สืบค้นเมื่อ July 19, 2017.
  3. Japan Meteorological Agency (October 10, 1992). RSMC Best Track Data – 1980–1989 (Report). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (.TXT)เมื่อ 2014-12-05. สืบค้นเมื่อ July 19, 2017.
  4. Staff Writer (2010-09-22). "Philippine Tropical cyclone names". Philippine Atmospheric, Geophysical and Astronomical Services. Administration. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-10-30. สืบค้นเมื่อ 2010-09-23.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]