รายพระนามและรายนามประมุขแห่งรัฐกรีซ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

นี่คือรายพระนามและรายนามประมุขแห่งรัฐแห่งรัฐกรีกสมัยใหม่, ซึ่งก่อตั้งหลังการปฏิวัติกรีกถึงปัจจุบัน

สาธารณรัฐเฮลเลนิกที่ 1 (1822–1832)[แก้]

"สาธารณรัฐเฮลเลนิกที่ 1" เป็นชื่อทางประวัติศาสตร์ที่นักวิชาการบางคนใช้ในการเรียกการปกครองชั่วคราวโดยคณะปฏิวัติของกรีกในช่วงสงครามประกาศอิสรภาพจากการปกครองของพวกออตโตมัน

รัฐเฮลเลนิก (1827–1832)[แก้]

ผู้ว่าการ สมัย พรรค
No. รูป นาม

(กำเนิด–อสัญกรรม)

เริ่มดำรงตำแหน่ง พ้นจากตำแหน่ง ระยะเวลา
1 อียอนิส กาโปดิสทริอัส
Ιωάννης Καποδίστριας
(1776–1831)
26 มกราคม 1828 27 กันยายน 1831

(ลอบสังหาร)

3 ปี

216 วัน

รุสเซียน
2 ออกุสตินอส กาโปดิสทริอัส
Αυγουστίνος Καποδίστριας
(1778–1857)
15 มีนาคม 1832 28 มีนาคม 1832

(ลาออก)

13 วัน รุสเซียน

ราชอาณาจักรกรีซ (1832–1924)[แก้]

ราชวงศ์วิทเทิลส์บัค (1832–1862)[แก้]

การประชุมที่กรุงลอนดอน 1832 เป็นการประชุมระหว่างประเทศเพื่อจัดตั้งรัฐบาลที่มั่นคงในกรีซ. การเจรจาระหว่าง 3 มหาอำนาจ (สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส และ รัสเซ๊ย) นำไปสู่การสถาปนาราชอาณาจักรกรีซ ภายใต้เจ้าชายจากบาวาเรีย การตัดสินใจได้รับการยอมรับในสนธิสัญญาคอนสแตนติโนเปิลหลังจากนั้น

การประชุมใหญ่เสนอบัลลังก์ให้เจ้าชายออโตแห่งบาวาเรีย และสถาปกฎการสืบราชสันตติวงศ์ให้ผ่านไปยังเชื้อสายในพระเจ้าออตโต หรือส่งต่อไปยังพระอนุชาในกรณีที่พระเจ้าออตโตไร้รัชทายาท นอกจากนี้ยังมีการตกลงว่าจะไม่มีรัฐร่วมประมุขระหว่างกรีซกับบาวาเรีย พระเจ้าออตโตครองราชสมบัติจนกระทั่งลี้ภัยใน การปฏิวัติ 23 ตุลาคม 1862

พระมหากษัตริย์ รัชสมัย อ้างสิทธิ์
No. รูป นาม

(ประสูติ–สวรรคต)

เริ่มดำรงตำแหน่ง พ้นจากตำแหน่ง รัชกาล
1 ออตโต
Όθων
(1815–1867)
27 กรกฎาคม 1832

[1]

10 ตุลาคม 1862

(ถูกถอดจากราชสมบัติ)

30 ปี 149 วัน ครองราชย์ตามการประชุมที่กรุงลอนดอน 1832

ราชวงศ์ชเลสวิช-ฮ็อลชไตน์-เซินเนอร์บอร์-กลึคส์บวร์ค (1863–1924)[แก้]

ตุลาคม 1862, พระเจ้าออตโตถูกถอดจากราชสมบัติในการปฏิวัติประชาชน แต่ในขณะที่ชาวกรีกปฏิเสธออตโต พวกเขาไม่ได้รังเกียจระบอบกษัตริย์ ปวงชนชาวกรีกแสวงหาความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดยิ่งขึ้นกับชาติมหาอำนาจ สหราชอาณาจักร, คิดอ่านกันว่า เจ้าชายอัลเฟรด พระราชโอรสองค์รองในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียและเจ้าชายอัลเบิร์ต, ควรเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ต่อไป. รัฐมนตรีกระทรวงต่างประเทศอังกฤษลอร์ด พาลเมอร์สตัน เชื่อว่าชาวกรีก "ปรารถนาจะได้ดินแดนเพิ่ม", หวังว่าการเลือกตั้งอัลเฟรดเป็นกษัตริย์ จะทำให้เกิดการรวมหมู่เกาะอิโอเนียน,ที่ขณะนั้นเป็นรัฐอารักขาของอังกฤษมาเป็นส่วนหนึ่งของกรีซ

ทว่าการประชุมที่กรุงลอนดอน 1832 ต้องห้ามมิให้พระราชวงศ์จากชาติมหาอำนาจรับราชสมบัติกรีซและไม่ว่าในกรณีใด ๆ สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียก็ไม่เห็นด้วยกับแนวคิดนี้ อย่างไรก็ดี, ชาวกรีกยืนยันที่จะจัดประชามติในประเด็นเรื่องประมุขแห่งรัฐในเดือนพฤศจิกายน 1862 นับเป็นการประชามติครั้งแรกในกรีซ

ในที่สุดเจ้าชายอัลเฟรดก็มิได้เป็นพระมหากษัตริย์และเจ้าชายวิลเลียมแห่งเดนมาร์กพระราชโอรสในเจ้าชายคริสเตียนแห่งเดนมาร์กได้รับเลือกจากสมัชชาแห่งชาติเฉลิมพระนามเป็นพระเจ้าจอร์จที่ 1 แห่งชาวกรีก

  สำเร็จราชการ
พระมหากษัตริย์ รัชสมัย อ้างสิทธิ์
No. รูป นาม

(ประสูติ–สวรรคต)

เริ่มดำรงตำแหน่ง พ้นจากตำแหน่ง รัชกาล
2 จอร์จที่ 1
Γεώργιος A΄
(1845–1913)
30 มีนาคม 1863 18 มีนาคม 1913
(ปลงพระชนม์)
49 ปี 353 วัน เสด็จขึ้นครองราชย์หลัวการประชามติ 19 พฤศจิกายน 1862
3 คอนสแตนตินที่ 1
Κωνσταντίνος A΄
(1868–1923)
18 มีนาคม 1913 11 มิถุนายน 1917
(สละราชสมบัติ)
4 ปี 85 วัน พระราชโอรสพระองค์ใหญ่
4 อเล็กซานเดอร์
Αλέξανδρος
(1893–1920)
11 มิถุนายน 1917 12 ตุลาคม 1920 3 ปี 136 วัน พระราชโอรสพระองค์รอง
พลเรือตรี
ปัพโลส โคอันตูริโอทิส

Παύλος Κουντουριώτης
(1855–1935)

15 ตุลาคม 1920 4 พฤษภาคม 1920
(ลาออก)
20 วัน ผู้สำเร็จราชการ
สมเด็จพระราชินี โอลก้า พระพันปีหลวง

Βασίλισσα Όλγα
(1851–1926)

4 พฤษภาคม 1920 6 ธันวาคม 1920 0 ปี 32 วัน ผู้สำเร็จราชการ
พระชายาม่ายในพระเจ้าจอร์จที่ 1
พระราชชนนีในพระเจ้าคอนสแตนตินที่ 1
(3) คอนสแตนตินที่ 1
Κωνσταντίνος A΄
(1868–1923)
6 ธันวาคม 1920 27 กันยายน 1922
(สละราชสมบัติ)
1 ปี 282 วัน กลับมาครองราชย์หลังการประชามติ 22 พฤศจิกายน 1920
5 จอร์จที่ 2
Γεώργιος Β΄
(1890–1947)
27 กันยายน 1922 25 มีนาคม 1924
(ถูกถอดจากราชสมบัติ)
1 ปี 180 วัน พระราชโอรสพระองค์ใหญ่

สาธารณรัฐเฮลเลนิกที่ 2 (1924–1935)[แก้]

สาธารณัฐเฮลเลนิกที่ 2 เป็นสาธารณรัฐระบบรัฐสภา ซึ่งสถาปนาในวันที่ 25 มีนาคม 1924 และการประชามติถูกจัดเพื่อล้มเลิกระบอบกษัตริย์ สาธารณรัฐสิ้นสภาพหลัง การประชามติราชาธิปไตย 1935

สถานะ

  รักษาการ
ประธานาธิบดี สมัย พรรคการเมือง
No. รูป นาม

(กำเนิด–อสัญกรรม)

รับเลือก เริ่มดำรงตำแหน่ง พ้นจากตำแหน่ง ระยะเวลา
1 พลเรือตรี
ปัพโลส โคอันตูริโอทิส

Παύλος Κουντουριώτης
(1855–1935)

1924 25 มีนาคม 1924 15 มีนาคม 1926
(ลาออก)
2 ปี 12 วัน กองทัพ
2 พลโท เธโอโดรอส ปันกาลอส
Θεόδωρος Πάγκαλος
(1878–1952)
15 เมษายน 1926 18 เมษายน 1926 0 ปี 138 วัน กองทัพ
1926 18 เมษายน 1926 22 สิงหาคม 1926
(ถูกถอด)
(1) พลเรือตรี
ปัพโลส โคอันตูริโอทิส

Παύλος Κουντουριώτης
(1855–1935)

22 สิงหาคม 1926 24 สิงหาคม 1926 3 ปี 108 วัน กองทัพ
24 สิงหาคม 1926 9 ธันวาคม 1929
(ลาออก)
3 อเล็กซานดรอส ไซมิส
Αλέξανδρος Ζαΐμης
(1855–1936)
9 ธันวาคม 1929 14 ธันวาคม 1929 5 ปี 304 วัน อิสระ
1929
1933
14 ธันวาคม 1929 10 ตุลาคม 1935
(ถูกถอด)

ราชอาณาจักรกรีซ (1935–1973)[แก้]

ราชวงศ์ชเลสวิช-ฮ็อลชไตน์-เซินเนอร์บอร์-กลึคส์บวร์ค (1935–1973)[แก้]

  Denotes Regent
พระมหากษัตริย์ รัชสมัย อ้างสิทธิ์
No. รูป นาม

(ประสูติ–สวรรคต)

เริ่มดำรงตำแหน่ง พ้นจากตำแหน่ง รัชกาล
พลโท
จอร์จีโอส คอนดีลิส
Γεώργιος Κονδύλης
(1878–1936)
10 ตุลาคม 1935 25 พฤศจิกายน 1935 0 ปี 46 วัน ผู้สำเร็จราชการ
(อยู่ในอำนาจหลัง รัฐประหาร 10 ตุลาคม 1935 [el], เพื่อล้มล้างสาธารณรัฐและตั้งตนเป็นผู้สำเร็จราชการ)
(5) จอร์จที่ 2
Γεώργιος Β΄
(1890–1947)
25 พฤศจิกายน 1935 31 ธันวาคม 1944 9 ปี 36 วัน กลับมาครองราชย์หลัง การประชามติ 3 พฤศจิกายน 1935
อาร์ชปิชอป
ดามาสกินอสแห่งเอเธนส์
Δαμασκηνός
(1891–1949)
31 ธันวาคม 1944 27 กันยายน 1946 1 ปี 270 วัน ผู้สำเร็จราชการ
(ได้รับการแต่งตั้งหลัง การปลดปล่อยกรีซจากฝ่ายอักษะ จนกระทั่งมีการประชามติ 1946เพื่อฟื้นฟูระบอบกษัตริย์)
(5) จอร์จที่ 2
Γεώργιος Β΄
(1890–1947)
27 กันยายน 1946 1 เมษายน 1947 0 ปี 186 วัน กลับมาครองราชย์หลัง การประชามติ 1 กันยายน 1946
6 ปอล
Παύλος
(1901–1964)
1 เมษายน 1947 6 มีนาคม 1964 16 ปี 340 วัน พระราชโอรสพระองค์ที่ 3 ในพระเจ้าคอนสแตนตินที่ 1
พระอนุชาในพระเจ้าจอร์จที่ 2
7 คอนสแตนตินที่ 2
Κωνσταντίνος Β΄
(born 1940)
6 มีนาคม 1964 1 มิถุนายน 1973
(ถูกถอดจากราชสมบัติ)
9 ปี 87 วัน พระราชโอรส
พลโท
จอร์จีโอส โซอีตากีส
Γεώργιος Ζωιτάκης
(1910–1996)
13 ธันวาคม 1967 21 มีนาคม 1972 4 ปี 99 วัน ผู้สำเร็จราชการ
(ได้รับการแต่งตั้งโดยรัฐบาลทหารเพื่อตอบโต้การพยายามรัฐประหารที่ล้มเหลวของราชสำนักในวันที่ 13 ธันวาคม 1967 และพระมหากษัตริย์ลี้ภัยไปยังอิตาลี)
พันเอก
จอร์จีโอส ปาปาโดปูโลส
Γεώργιος Παπαδόπουλος
(1919–1999)
21 มีนาคม 1972 31 พฤษภาคม 1973 1 ปี 71 วัน ผู้สำเร็จราชการ
(แกนนำรัฐบาลทหาร, ตั้งตนเป็นผู้สำเร็จราชการ)

สาธารณรัฐภายใต้รัฐบาลทหาร (1973–1974)[แก้]

1 มิถุนายน 1973 คณะทหารล้มเลิกราชาธิปไตยและจัดตั้งสาธารณรัฐประธานาธิบดี โดยการประชามติ 1973โดยจัดตั้งเมื่อ 29 กรกฎาคม 1973

ประธานาธิบดี สมัย พรรคการเมือง
No. รูป นาม

(กำเนิด–อสัญกรรม)

เริ่มดำรงตำแหน่ง พ้นจากตำแหน่ง ระยะเวลา
1 พันเอก
จอร์จีโอส ปาปาโดปูโลส
Γεώργιος Παπαδόπουλος
(1919–1999)
1 มิถุนายน 1973 25 พฤศจิกายน 1973
(ถูกถอด)
0 ปี 177 วัน กองทัพ
2 พลโท
เฟดอน กิซีกิส
Φαίδων Γκιζίκης
(1917–1999)
25 พฤศจิกายน 1973 17 ธันวาคม 1974 1 ปี 22 วัน กองทัพ

สาธารณรัฐเฮลเลนิกที่ 3 (1974–ปัจจุบัน)[แก้]

ค.ศ. 1974 รัฐบาลทหารถูกล้มล้างตามมาด้วยการฟื้นฟูระบอบประชาธิปไตยการประชามติใน 8 ธันวาคม 1974 ยืนยันที่จะล้มเลิกระบอบกษัตริย์และจัดตั้งระบอบสาธารณรัฐแบบรัฐสภา มีประธานาธิบดีเป็นประมุข

สถานะ
  รักษาการ
ประธานาธิบดี สมัย พรรคการเมือง นายกรัฐมนตรี
No. รูป นาม

(ประสูติ–สวรรคต)

รับเลือก เริ่มดำรงตำแหน่ง พ้นจากตำแหน่ง ระยะเวลา
1 มิคาอิล สตาสิโนปูลอส
Μιχαήλ Στασινόπουλος
(1903–2002)
1974 18 ธันวาคม 1974 19 กรกฎาคม 1975 0 ปี 213 วัน ประชาธิปไตยใหม่ คารามานลิส
2 คอนสแตนตินอส ซาตซอส
Κωνσταντίνος Τσάτσος
(1899–1987)
1975 19 กรกฎาคม 1975 10 พฤษภาคม 1980 4 ปี 296 วัน ประชาธิปไตยใหม่ คารามานลิส
3 คอนสแตนตินอส คารามานลิส
Κωνσταντίνος Καραμανλής
(1907–1998)
1980 10 พฤษภาคม 1980 10 มีนาคม 1985
(Resigned)
4 ปี 304 วัน ประชาธิปไตยใหม่ ราลลิส
ปาปันเดรอู
อิโยนิส อาเลฟราส
Ιωάννης Αλευράς
(1912–1995)
10 มีนาคม 1985 30 มีนาคม 1985 0 ปี 20 วัน ขบวนการสังคมนิยม แพน-เฮลเลนิก ปาปันเดรอู
4 คริสตอส ซาร์ตเซตากิส
Χρήστος Σαρτζετάκης
(1929-2021)
1985 30 มีนาคม 1985 4 พฤษภาคม 1990 5 ปี 35 วัน อิสระ ปาปันเดรอู
ซันเนกาติส
กริวัส
โซโลตัส
มิตโซตากิส
(3) คอนสแตนตินอส คารามานลิส
Κωνσταντίνος Καραμανλής
(1907–1998)
1990 5 พฤษภาคม 1990 10 มีนาคม 1995 4 ปี 310 วัน ประชาธิปไตยใหม่ มิตโซตากิส
ปาปันเดรอู
5 คอนสแตนตินอส สเตฟาโนปูลอส
Κωνσταντίνος Στεφανόπουλος
(1926–2016)
1995
2000
10 มีนาคม 1995 12 มีนาคม 2005 10 ปี 2 วัน อิสระ ปาปันเดรอู
สิมิติส
คารามานลิส
6 คาโรลอส ปาปุเลียส
Κάρολος Παπούλιας
(born 1929)
2005
2010
12 มีนาคม 2005 13 มีนาคม 2015 10 ปี 1 วัน ขบวนการสังคมนิยม แพน-เฮลเลนิก คารามานลิส
ปาปันเดรอู
ปาปาเดมอส
พิครามเมนอส
ซามาราส
ซีปราส
7 โปรโกปิส ปัฟโลปูโลส
Προκόπης Παυλόπουλος
(เกิด 1950)
2014–15 13 มีนาคม 2015 13 มีนาคม 2020 5 ปี ประชาธิปไตยใหม่ ซีปราส
ทานู
Tsipras
มิตโซตากีส
8 คาเทรีนา ซาเกลลาโรปูลูู
Κατερίνα Σακελλαροπούλου
(เกิด 1956)
2020 13 มีนาคม 2020 ปัจจุบัน 4 ปี 36 วัน อิสระ มิตโซตากีส
  1. Protocol signed in 1832 but landed in Greece on 6 February 1833.