ยูเอสเอส จอร์จ เอช.ดับเบิลยู. บุช (CVN-77)

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ยูเอสเอส จอร์จ เอช.ดับเบิลยู. บุช ในเดือนมกราคม 2011
ประวัติ
สหรัฐอเมริกา
ชื่อ
  • ไทย : ยูเอสเอส จอร์จ เอช.ดับเบิลยู. ยุช
  • อังกฤษ : USS George H.W. Bush
ตั้งชื่อตามเรือเอก จอร์จ เอช. ดับเบิลยู. บุช
Ordered26 มกราคม 2001
รางวัล26 มกราคม 2001
อู่เรือนิวพอร์ตนิวส์ชิปบิลดิง[1]
มูลค่าสร้างUS$6,200 ล้าน[2]
ปล่อยเรือ6 กันยายน 2003[1]
สนับสนุนโดยโดโรธี บุช คอช[1]
Christened7 ตุลาคม 2006
เดินเรือแรก9 ตุลาคม 2006
เข้าประจำการ10 มกราคม 2009 (15 ปี)[2]
ท่าจอดฐานทัพเรือนอร์ฟอล์ก
รหัสระบุ
คำขวัญ
  • Freedom at Work
  • (เสรีภาพในการทำงาน)
ชื่อเล่นอเวนเจอร์
สถานะอยู่ในประจำการ
สัญลักษณ์
ลักษณะเฉพาะ
ชั้น: นิมิตซ์
ขนาด (ระวางขับน้ำ): 102,000 ลองตัน (114,000 ชอร์ตตัน)[3][4]
ความยาว:
  • ตลอดลำ: 1,092 ฟุต (332.8 เมตร)
  • แนวน้ำ: 1,040 ฟุต (317.0 เมตร)
ความกว้าง:
  • กว้างสุด: 252 ฟุต (76.8 เมตร)
  • แนวน้ำ: 134 ฟุต (40.8 เมตร)
  • กินน้ำลึก:
  • สูงสุดสำหรับเดินเรือ: 37 ฟุต (11.3 เมตร)
  • ขีดจำกัด: 41 ฟุต (12.5 เมตร)
  • ระบบขับเคลื่อน:
  • 2 × เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ Westinghouse A4W (ยูเรเนียมเสริมสมรรถนะสูง 93.5%)
  • 4 × กังหันไอน้ำ
  • 4 × เพลาใบจักร
  • กำลัง 260,000 แรงม้า (194 เมกะวัตต์)
  • ความเร็ว: มากกว่า 30 นอต (56 กิโลเมตรต่อชั่วโมง; 35 ไมล์ต่อชั่วโมง)
    พิสัยเชื้อเพลิง: ไม่จำกัดระยะทาง 20–25 ปี
    อัตราเต็มที่:
    • ประจำเรือ: 3,532 นาย
    • ฝูงบินประจำเรือ: 2,480 นาย
    ระบบตรวจการและปฏิบัติการ:
  • เรดาร์ค้นหาทางอากาศ 3 มิติ AN/SPS-48E
  • เรดาร์ค้นหาทางอากาศ 2 มิติ AN/SPS-49A(V)5
  • เรดาร์ควบคุมการยิง AN/SPQ-9B
  • เรดาร์ควบคุมการจราจรทางอากาศ AN/SPN-46
  • เรดาร์ควบคุมการจราจรทางอากาศ AN/SPN-43C
  • เรดาร์ช่วยลงจอด AN/SPN-41
  • 3 × ระบบนำวิถีขีปนาวุธ Mark 91 NSSM
  • 3 × เรดาร์นำวิถีขีปนาวุธ Mark 95
  • สงครามอิเล็กทรอนิกส์และเป้าลวง:
  • ระบบต่อต้านการสงครามอิเล็กทรอนิกส์ AN/SLQ-32A(V)4
  • ระบบต่อต้านตอร์ปิโด SLQ-25A Nixie
  • ยุทโธปกรณ์:
  • 2 × แท่นปล่อย Mark 29 สำหรับอาวุธปล่อยผิวพื้นสู่อากาศ อาร์ไอเอ็ม-162 อีเอสเอสเอ็ม
  • 2 × แท่นปล่อยสำหรับอาวุธปล่อยผิวพื้นสู่อากาศ อาร์ไอเอ็ม-116 Rolling Airframe Missile
  • 3 × Phalanx CIWS[5]
  • เกราะ: เคฟลาร์ หนา 2.5 นิ้ว (64 มม.) ในบริเวณสำคัญ[6]
    อากาศยาน: อากาศยานปีกนิ่งและเฮลิคอปเตอร์ 90 ลำ

    ยูเอสเอส จอร์จ เอช.ดับเบิลยู. บุช (CVN-77)[a] (อังกฤษ: USS George H.W. Bush) เป็นเรือบรรทุกเครื่องบินขับเคลื่อนด้วยพลังงานนิวเคลียร์ลำดับที่ 10 และเป็นเรือลำสุดท้ายในกลุ่มเรือบรรทุกเครื่องบินชั้นนิมิตซ์ของกองทัพเรือสหรัฐ ได้รับการตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่เรือเอก จอร์จ เอช. ดับเบิลยู. บุช ประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกาคนที่ 41 และอดีตผู้อำนวยการสำนักข่างกรองกลาง (CIA) ผู้ซึ่งเคยเป็นนักบินของกองทัพเรือในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง สัญญาณเรียกขานของเรือคือ อเวนเจอร์ (Avenger; ผู้ล้างแค้น) ตามชื่อเครื่องบินทิ้งระเบิด กรัมแมน ทีบีเอฟ อเวนเจอร์ ซึ่งเคยบินโดยบุชเมื่อช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เรือลำนี้เริ่มสร้างในปี 2003 โดยบริษัทนอร์ทธรอป กรัมแมน (Northrop Grumman) ในเมืองนิวพอร์ตนิวส์ รัฐเวอร์จิเนีย และสร้างเสร็จในปี 2009 ด้วยงบประมาณ 6,200 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ปัจจุบันประจำการอยู่ที่ฐานทัพเรือนอร์ฟอล์ก รัฐเวอร์จิเนีย

    หมายเหตุ[แก้]

    1. กองทัพเรือสหรัฐระบุว่าชื่อเรือไม่มีวรรคระหว่าง "H" และ "W"

    อ้างอิง[แก้]

    1. 1.0 1.1 1.2 "Future USS George H.W. Bush to Transit". Naval Sea Systems Command Public Affairs. 18 December 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 October 2012. สืบค้นเมื่อ 22 December 2008.
    2. 2.0 2.1 "Aircraft Carrier Named the USS George H.W. Bush Commissioned". Fox News. 10 January 2009. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 October 2012. สืบค้นเมื่อ 2 June 2009.
    3. Polmar, Norman (2004). The Naval Institute guide to the ships and aircraft of the U.S. fleet. Naval Institute Press. p. 112. ISBN 978-1-59114-685-8. สืบค้นเมื่อ 26 September 2016. nimitz class displacement
    4. "CVN-68: NIMITZ CLASS" (PDF).
    5. "USS George HW Bush Project". USS George HW Bush (CVN-77) Aircraft Carrier, United States of America. Net Resources International/SPG Media LTD. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 December 2012. สืบค้นเมื่อ 25 December 2012.
    6. Fontenoy, Paul E. (2006). Aircraft carriers: an illustrated history of their impact. ABC-CLIO Ltd. p. 349. ISBN 978-1-85109-573-5.

    แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]