มิตซูบิชิ เอฟ-2
ชาติกำเนิด | ![]() ![]() |
---|---|
บริษัทผู้ผลิต | มิตซูบิชิเฮฟวีอินดัสทรีส์ ล็อกฮีด มาร์ติน |
บินครั้งแรก | 7 ตุลาคม พ.ศ. 2538 |
ผู้ใช้งานหลัก | กองกำลังป้องกันตนเองทางอากาศญี่ปุ่น |
ช่วงการผลิต | พ.ศ. 2538–2554 |
จำนวนที่ผลิต | 94 + 4 ต้นแบบ [1] |
มูลค่า | ¥12,000 ล้านเยน [2] |
พัฒนามาจาก | F-16 Block 40 |
มิตซูบิชิ เอฟ-2 เครื่องบินรบหลากบทบาท ที่ผลิตโดย บริษัท มิตซูบิชิ เฮวี่ อินดัสทรีย์ส ของญี่ปุ่น ร่วมกับ ล็อกฮีด มาร์ติน ของสหรัฐอเมริกาโดยต้นแบบ คือ เอฟ-16 ด้วยอัตราส่วนการผลิตของญี่ปุ่นและสหรัฐอเมริกา เท่ากับ 60/40 โดยเริ่มการผลิตในปี พ.ศ. 2539 และเข้าประจำการครั้งแรกในปี พ.ศ. 2543
แบบการผลิต[แก้]
- XF-2A: ที่นั่งเดี่ยว รุ่นต้นแบบ
- XF-2B: สองที่นั่ง รุ่นต้นแบบ
- F-2A: ที่นั่งเดียว รุ่นสำหรับโจมตี
- F-2B: สองที่นั่ง รุ่นสำหรับฝึกบิน
รายละเอียด (F-2A)[แก้]
- ลักษณะทั่วไป
- นักบิน: 1 (หรือ 2 สำหรับ F-2B)
- ความยาว: 15.52 เมตร (50 ฟุต 11 นิ้ว)
- ความยาวช่วงปีก: 11.13 เมตร (36 ฟุต 6 นิ้ว)
- ความสูง: 4.69 เมตร (15 ฟุต 5 นิ้ว)
- พื้นที่ปีก: 34.84 เมตร² (375 ฟุต²)
- น้ำหนักลำเปล่า: 9,527 กิโลกรัม
- น้ำหนักลำบรรทุกสูงสุด: 14,970 กิโลกรัม
- น้ำหนักสูงสุดขณะขึ้นบิน: 18,100 kg (48,700 lb)
- เครื่องยนต์: 1 × General Electric F110-GE-129 turbofan
- แรงขับแห้ง: 76 kN
- แรงขับเชื้อเพลิง: 120–125 kN
- ประสิทธิภาพ
- ความเร็วสูงสุด: มัค 2.0 (2,469.6 กม./ชม., 1 333 kn)
- ระยะทาง: 834 กิโลเมตร ในภารกิจต่อต้านเรือ
- เพดานบิน: 18,000 เมตร (59,000 ฟุต)
- แรงกดผิวปีก: 430 กิโลกรัม/ม² ที่น้ำหนักลำ 15,000 กิโลกรัม
- แรงขับ/น้ำหนัก: 0.89
- ยุทธภัณฑ์
- ปืนกล 20 มม. JM61A1, โหลดอาวุธเพิ่มสูงสุด 8,085 กิโลกรัม
- ขีปนาวุธ: เอไอเอ็ม-9 ไซด์ไวน์เดอร์, เอไอเอ็ม-7 สแปร์โรว์, มิตซูบิชิ เอเอเอ็ม-3, มิตซูบิชิ เอเอเอ็ม-4
- อาวุธอากาศสู่พื้นดิน: จรวดต่อต้านเรือ ASM-1 และ ASM-2, various free-fall bombs with GCS-1 IIR seeker heads, JDAM
- อื่น ๆ : J/AAQ-2 FLIR
- อิเลคทรอนิกส์การบิน
- Mitsubishi Active Electronically Scanned Array ระบบเรดาร์ รวม J/APG-1
ผู้ใช้งาน[แก้]
- กองบัญชาการป้องกันทางอากาศ
- กองกำลังป้องกันทางอากาศภาคเหนือ
- กองบิน 3, ฐานทัพอากาศมิซาวะ
- ฝูงบินรบทางยุทธวิธีที่ 3
- ฝูงบินรบทางยุทธวิธีที่ 8
- กองบิน 3, ฐานทัพอากาศมิซาวะ
- กองกำลังป้องกันทางอากาศภาคตะวันตก
- กองบิน 8, ฐานทัพอากาศสึอิกิ
- ฝูงบินรบทางยุทธวิธีที่ 6
- กองบิน 8, ฐานทัพอากาศสึอิกิ
- กองบัญชาการการฝึกทางอากาศ
- กองบิน 4, ฐานทัพอากาศมัตสึชิมะ
- ฝูงบินฝึกรบที่ 21 (ยุบ) [3]
- กองบัญชาการการพัฒนาและทดสอบทางอากาศ
- กองบินพัฒนาและทดสอบทางอากาศ, ฐานทัพอากาศกิฟุ
อ้างอิง[แก้]
- ↑ "Mitsubishi F-2 Multirole Fighter/Maritime Strike Aircraft". MilitaryFactory.com. 21 January 2019. สืบค้นเมื่อ 26 November 2019.
- ↑ http://www.globalsecurity.org/military/world/japan/f-2.htm
- ↑ http://www.flightglobal.com/blogs/the-dewline/2011/03/earthquake-devastates-japan-f-.html
แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]
![]() |
คอมมอนส์ มีภาพและสื่อเกี่ยวกับ: มิตซูบิชิ เอฟ-2 |