ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อันดับเหยี่ยว"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Vaspeuton (คุย | ส่วนร่วม)
fix text
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{taxobox
{{taxobox
| name =
| name =
| fossil_range = [[Eocene|อีโอซีน]]-ปัจจุบัน, {{fossilrange|47|0}}
| fossil_range = [[สมัยอีโอซีน]]-[[สมัยโฮโลซีน|ปัจจุบัน]], {{fossilrange|47|0}}
| image = White-bellied Sea Eagle RWD.jpg
| image = דורסי-יום-01.jpg
| image_caption =
| image_caption = [[นกออก]] หรือ อินทรีทะเลท้องขาว (''Haliaeetus leucogaster'')
| regnum = [[Animal]]ia
| image_width = 250px
|regnum = [[Animal]]ia
| phylum = [[Chordata]]
|phylum = [[Chordata]]
| classis = [[Aves]]
|classis = [[Aves]]
| ordo = '''Accipitriformes'''
| ordo = '''Accipitriformes'''
|infraclassis = [[Neognathae]]
| infraclassis = [[Neognathae]]
| ordo_authority = [Louis Jean Pierre Vieillot|Vieillot]], 1816
| authority =
| subdivision_ranks = [[วงศ์ (ชีววิทยา)|วงศ์]]
| subdivision_ranks = [[วงศ์ (ชีววิทยา)|วงศ์]]
| subdivision =
| subdivision = {{plainlist|
*[[Accipitridae]]<br />
*[[Sagittariidae]]
*[[Cathartidae]]<br />
*[[Pandionidae]]
*[[Accipitridae]]}}
*[[เหยี่ยวออสเปร|Pandionidae]]<br />
|range_map=File:Diversity_map_of_Accipitriformes.webp
*[[Sagittariidae]]<br />
|range_map_caption= แผนที่ความหลากหลายของอันดับเหยี่ยว (258 ชนิด) (จากสีอ่อนไปเข้ม) บ่งบอกถึงความสมบูรณ์ของสายพันธุ์.<ref>{{cite journal |last1=Nagy |first1=Jenő |title=Biologia Futura: rapid diversification and behavioural adaptation of birds in response to Oligocene–Miocene climatic conditions |journal=Biologia Futura |year=2020 |volume=71 |issue=1–2 |pages=109–121 |doi=10.1007/s42977-020-00013-9 |url=https://link.springer.com/content/pdf/10.1007/s42977-020-00013-9.pdf}}</ref>
}}
}}

'''อันดับเหยี่ยว'''<ref>[http://www.siamensis.org/species_index#2964--Order:%20Accipitriformes อันดับเหยี่ยว] ดัชนีสิ่งมีชีวิต กลุ่มอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพและสิ่งแวดล้อม</ref> (Accipitriformes) เป็นอันดับที่ประกอบด้วยนกล่าเหยื่อเวลากลางวันส่วนมาก เช่น [[เหยี่ยวนกเขา]], [[อินทรี]] และ [[แร้ง]] มีประมาณ 225 ชนิด ในอดีตจะรวม[[เหยี่ยว]]ในอันดับ [[Falconiformes]] แต่ผู้แต่งบางคนแยกมาไว้ในอันดับ Accipitriformes{{sfn|Voous|1973}}{{sfn|Cramp|1980|pp=3, 277}}{{sfn|Ferguson-Lees|Christie|2001|p=69}}{{sfn|Christidis|Boles|2008|pp=50–51}} การศึกษา [[DNA]] ในปัจจุบันแสดงว่า [[เหยี่ยวปีกแหลม]]ไม่ได้เป็นญาติใกล้ชิดกับนกในอันดับ Accipitriformes แต่ใกล้ชิดกับ[[นกแก้ว]]และ[[นกเกาะคอน]]{{sfn|Hackett et al 2008}} ตั้งแต่การแบ่งแยก (แต่ก็ไม่ได้วางเหยี่ยวถัดจากนกแก้วหรือนกเกาะคอน) ได้รับการยอมรับโดยคณะกรรมการการการจัดแบ่งประเภทอเมริกาใต้แห่งสมาคมนักปักษีวิทยาแห่งอเมริกา (American Ornithologists' Union) (SACC),{{sfn|Remsen|Cadena|Jaramillo|Nores}} คณะกรรมการการจัดแบ่งประเภทอเมริกาเหนือ (NACC),{{sfn|Chesser|Banks|Barker|Cicero|2010}} และ การประชุมปักษีนานาชาติ (IOC){{sfn|Gill|Donsker}}
'''อันดับเหยี่ยว'''<ref>[http://www.siamensis.org/species_index#2964--Order:%20Accipitriformes อันดับเหยี่ยว] ดัชนีสิ่งมีชีวิต กลุ่มอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพและสิ่งแวดล้อม</ref> (Accipitriformes) เป็นอันดับที่ประกอบด้วยนกล่าเหยื่อเวลากลางวันส่วนมาก เช่น [[เหยี่ยวนกเขา]], [[อินทรี]] และ [[แร้ง]] มีประมาณ 225 ชนิด ในอดีตจะรวม[[เหยี่ยว]]ในอันดับ [[Falconiformes]] แต่ผู้แต่งบางคนแยกมาไว้ในอันดับ Accipitriformes{{sfn|Voous|1973}}{{sfn|Cramp|1980|pp=3, 277}}{{sfn|Ferguson-Lees|Christie|2001|p=69}}{{sfn|Christidis|Boles|2008|pp=50–51}} การศึกษา [[DNA]] ในปัจจุบันแสดงว่า [[เหยี่ยวปีกแหลม]]ไม่ได้เป็นญาติใกล้ชิดกับนกในอันดับ Accipitriformes แต่ใกล้ชิดกับ[[นกแก้ว]]และ[[นกเกาะคอน]]{{sfn|Hackett et al 2008}} ตั้งแต่การแบ่งแยก (แต่ก็ไม่ได้วางเหยี่ยวถัดจากนกแก้วหรือนกเกาะคอน) ได้รับการยอมรับโดยคณะกรรมการการการจัดแบ่งประเภทอเมริกาใต้แห่งสมาคมนักปักษีวิทยาแห่งอเมริกา (American Ornithologists' Union) (SACC),{{sfn|Remsen|Cadena|Jaramillo|Nores}} คณะกรรมการการจัดแบ่งประเภทอเมริกาเหนือ (NACC),{{sfn|Chesser|Banks|Barker|Cicero|2010}} และ การประชุมปักษีนานาชาติ (IOC){{sfn|Gill|Donsker}}



รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:31, 29 กันยายน 2563

อันดับเหยี่ยว
ช่วงเวลาที่มีชีวิตอยู่: สมัยอีโอซีน-ปัจจุบัน, 47–0Ma
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ชั้น: Aves
ชั้นฐาน: Neognathae
อันดับ: Accipitriformes
[Louis Jean Pierre Vieillot
วงศ์
แผนที่ความหลากหลายของอันดับเหยี่ยว (258 ชนิด) (จากสีอ่อนไปเข้ม) บ่งบอกถึงความสมบูรณ์ของสายพันธุ์.[1]

อันดับเหยี่ยว[2] (Accipitriformes) เป็นอันดับที่ประกอบด้วยนกล่าเหยื่อเวลากลางวันส่วนมาก เช่น เหยี่ยวนกเขา, อินทรี และ แร้ง มีประมาณ 225 ชนิด ในอดีตจะรวมเหยี่ยวในอันดับ Falconiformes แต่ผู้แต่งบางคนแยกมาไว้ในอันดับ Accipitriformes[3][4][5][6] การศึกษา DNA ในปัจจุบันแสดงว่า เหยี่ยวปีกแหลมไม่ได้เป็นญาติใกล้ชิดกับนกในอันดับ Accipitriformes แต่ใกล้ชิดกับนกแก้วและนกเกาะคอน[7] ตั้งแต่การแบ่งแยก (แต่ก็ไม่ได้วางเหยี่ยวถัดจากนกแก้วหรือนกเกาะคอน) ได้รับการยอมรับโดยคณะกรรมการการการจัดแบ่งประเภทอเมริกาใต้แห่งสมาคมนักปักษีวิทยาแห่งอเมริกา (American Ornithologists' Union) (SACC),[8] คณะกรรมการการจัดแบ่งประเภทอเมริกาเหนือ (NACC),[9] และ การประชุมปักษีนานาชาติ (IOC)[10]

บนพื้นฐานของ DNA และการจัดประเภทของ NACC และ IOC ได้จัดแร้งโลกใหม่ใน Accipitriformes,[7][9] ขณะที่ SACC ได้จัดแร้งโลกใหม่อยู่ในอันดับอื่น [8] การจัดวางแร้งโลกใหม่นั้นยังคงเป็นปัญหามาตั้งแต่ก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 1990

อนุกรมวิธาน

อันดับ Accipitriformes

อ้างอิง

  1. Nagy, Jenő (2020). "Biologia Futura: rapid diversification and behavioural adaptation of birds in response to Oligocene–Miocene climatic conditions" (PDF). Biologia Futura. 71 (1–2): 109–121. doi:10.1007/s42977-020-00013-9.
  2. อันดับเหยี่ยว ดัชนีสิ่งมีชีวิต กลุ่มอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพและสิ่งแวดล้อม
  3. Voous 1973.
  4. Cramp 1980, pp. 3, 277.
  5. Ferguson-Lees & Christie 2001, p. 69.
  6. Christidis & Boles 2008, pp. 50–51.
  7. 7.0 7.1 Hackett et al 2008.
  8. 8.0 8.1 Remsen et al.
  9. 9.0 9.1 Chesser et al. 2010.
  10. Gill & Donsker.

บรรณานุกรม