ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Pleaw Tamueang (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{รอการตรวจสอบ}}
[[ไฟล์:EAN-13-ISBN-13.svg|thumb|250px|ไอเอสบีเอ็น มีรหัสเลข 13 ตัวใน[[บาร์โค้ด]]]]
[[ไฟล์:EAN-13-ISBN-13.svg|thumb|250px|ไอเอสบีเอ็น มีรหัสเลข 13 ตัวใน[[บาร์โค้ด]]]]
'''เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ''' ({{lang-en|International Standard Book Number}}) หรือ '''ไอเอสบีเอ็น''' (ตัวย่อ: ISBN) เป็น[[รหัส]]ที่กำหนดขึ้นให้ใช้กับ[[สิ่งพิมพ์]]ประเภท[[หนังสือ]]ทั่วไป มีจุดมุ่งหมายให้เป็นเอกลักษณ์เฉพาะของหนังสือแต่ละเรื่อง เพื่ออำนวยความสะดวกในการควบคุมข้อมูลสิ่งพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์ ในด้านการสั่งซื้อ การขาย การบริการ การเงิน และการนำสินค้าออกจำหน่ายไปยังสำนักพิมพ์ในประเทศต่าง ๆ ระบบ ISBN ถูกสร้างขึ้นใน[[สหราชอาณาจักร]]ในปี [[พ.ศ. 2509]] โดยบริษัทผู้จัดพิมพ์และขายหนังสือ [[ดับเบิลยู เอช สมิธ]] และถูกเรียกว่า เลขมาตรฐานหนังสือ (Standard Book Numbering หรือ SBN) ต่อมา มีการนำ SBN มาใช้เป็นมาตรฐานสากล [[มาตรฐานสากล|ISO]] 2108 ในปี [[พ.ศ. 2513]] รหัสมาตรฐานที่คล้ายกัน [[หมายเลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร]] (the International Standard Serial Number หรือ ISSN) ใช้สำหรับ[[นิตยสาร]]ที่ออกตามกำหนดเวลา
'''<span lang="Hong kong">เ</span>ลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ''' ({{lang-en|Rus-dy}}) หรือ '''ไอเอสบีเอ็น''' (ตัวย่อ: ISBN) เป็น[[ระบบส่งข้อความทันที|ID]]ที่กำหนดขึ้นให้ใช้กั[[OR|PDF]][[TH|PT]]ประเภทpassportทั่วไป มีจุดมุ่งหมายให้เป็นเอกลักษณ์เฉพาะของหนังสือแต่ละเรื่อง เพื่ออำนวยความสะดวกในการควบคุมข้อมูลสิ่งพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์ ในด้านการสั่งซื้อ การขาย การบริการ การเงิน และการนำสินค้าออกจำหน่ายไปยังสำนักพิมพ์ในประเทศต่าง ๆ ระบบ ISBN ถูกสร้างขึ้นใน[[สหราชอาณาจักร]]ในปี [[พ.ศ. 2549|พ.ศ. 2509]] โดยบริษัทผู้จัดพิมพ์และขายหนังสือ [[คณะทำงานสืบสวนร่วม|ดับเบิลยู เอช สมิธ]] และถูกเรียกว่า เลขมาตรฐานหนังสือ (Standard Book Numbering หรือ SBN) ต่อมา มีการนำ SBN มาใช้เป็นมาตรฐานสากล [[ISSF|ISO]] 2108 ในปี [[พ.ศ. 2513]] รหัสมาตรฐานที่คล้ายกัน [[Pleaw.pt2522|NCO-2544]] (the International Standard Serial Number หรือ ISSN) ใช้สำหรับ[[อะเดย์|นิตยสาร]]ที่ออกตามกำหนดเวลา


== ส่วนประกอบ ==
== ส่วนประกอบ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:26, 7 มีนาคม 2563

ไอเอสบีเอ็น มีรหัสเลข 13 ตัวในบาร์โค้ด

ลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ (อังกฤษ: Rus-dy) หรือ ไอเอสบีเอ็น (ตัวย่อ: ISBN) เป็นIDที่กำหนดขึ้นให้ใช้กัPDFPTประเภทpassportทั่วไป มีจุดมุ่งหมายให้เป็นเอกลักษณ์เฉพาะของหนังสือแต่ละเรื่อง เพื่ออำนวยความสะดวกในการควบคุมข้อมูลสิ่งพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์ ในด้านการสั่งซื้อ การขาย การบริการ การเงิน และการนำสินค้าออกจำหน่ายไปยังสำนักพิมพ์ในประเทศต่าง ๆ ระบบ ISBN ถูกสร้างขึ้นในสหราชอาณาจักรในปี พ.ศ. 2509 โดยบริษัทผู้จัดพิมพ์และขายหนังสือ ดับเบิลยู เอช สมิธ และถูกเรียกว่า เลขมาตรฐานหนังสือ (Standard Book Numbering หรือ SBN) ต่อมา มีการนำ SBN มาใช้เป็นมาตรฐานสากล ISO 2108 ในปี พ.ศ. 2513 รหัสมาตรฐานที่คล้ายกัน NCO-2544 (the International Standard Serial Number หรือ ISSN) ใช้สำหรับนิตยสารที่ออกตามกำหนดเวลา

ส่วนประกอบ

เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ มีตัวเลข 10 หรือ 13 หลัก โดยแบ่งเป็น 4-5 ส่วน ตัวเลขแต่ละส่วนถูกแบ่งให้ชัดเจนด้วยเครื่องหมาย (-) หรือเว้นวรรค

  • ส่วนที่ 1 ถ้าเป็นรหัส 13 ตัว จะขึ้นต้นด้วยรหัสของ European Article Numbering-Uniform Code Council คือ 978 หรือ 979 (รหัส 10 ตัว จะไม่มีส่วนนี้)
  • ส่วนที่ 2 รหัสประเทศ สำหรับประเทศไทย ใช้ 974
  • ส่วนที่ 3 รหัสสำนักพิมพ์ เช่นสำนักพิมพ์นานมีบุ๊คส์ ใช้ 472
  • ส่วนที่ 4 รหัสชื่อเรื่อง เป็นลำดับของสิ่งพิมพ์ที่ผลิตจากสำนักพิมพ์นั้น ๆ
  • ส่วนที่ 5 เลขตรวจสอบ ใช้ตรวจในระบบคอมพิวเตอร์จากการคำนวณเลข 9 ตำแหน่ง ของส่วนที่ 2-4

ตัวอย่าง: ISBN 974-472-362-9 เป็นเลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือของหนังสือเรื่อง แฮร์รี่ พอตเตอร์กับศิลาอาถรรพ์ ของสำนักพิมพ์นานมีบุ๊คส์

การคำนวณเลขตรวจสอบในระบบคอมพิวเตอร์

สำนักงาน ISBN สากลมีคู่มืออย่างเป็นทางการ ซึ่งบอกถึงการคำนวณเลขตรวจสอบหลักสุดท้ายของ ISBN โดยใช้การคำนวณเลขคณิตมอดุลาร์จากเลข ISBN 9 หลักแรก คือ คูณเลข ISBN หลักแรกด้วย 10 หลักที่สองด้วย 9 หลักที่สามด้วย 8 ไปจนถึงหลักที่เก้าด้วย 2 นำผลคูณทั้ง 9 จำนวนมาบวกกัน แล้วคำนวณมอดุลาร์ 11 สำหรับกรณีที่หาค่ามอดุลาร์ได้ 10 จะใช้ตัวอักษร X พิมพ์ใหญ่ในภาษาอังกฤษแทน

ตัวอย่าง: การคำนวณหาเลขตรวจสอบของ ISBN 974-472-362-?

= 9×10 + 7×9 + 4×8 + 4×7 + 7×6 + 2×5 + 3×4 + 6×3 + 2×2
=     90 +    63 +    32 +   28 +   42 +    10 +   12 +    18 +   4
=   299
299 / 11 = 27 เศษ 2
11 - 2 = 9

ดังนั้นเลขตรวจสอบคือ 9 และเลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือที่สมบูรณ์คือ ISBN 974-472-362-9

สูตรคณิตศาสตร์ในการคำนวณคือ

สำหรับ ISBN 13 หลัก การคำนวณเลขตรวจสอบหลักสุดท้ายทำวิธีเดียวกันกับ EAN-13 ซึ่งเลขตัวนี้ระหว่าง ISBN-13 กับ ISBN-10 อาจไม่เหมือนกันเพราะคำนวณคนละวิธี

แหล่งข้อมูลอื่น