ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เทวทูต"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''เทวทูต''' หมายถึง [[ทูต]]ของ[[เทพ]] ซึ่งเป็นสัญญาณเตือนให้ระลึกถึงธรรมดาของ[[ชีวิต]] จนเกิดความสังเวชแล้วเร่งทำ[[ความดี]]<ref>{{อ้างหนังสือ|ผู้แต่ง = [[ราชบัณฑิตยสถาน]]|ชื่อหนังสือ = [[พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554]] เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554|URL = |จังหวัด = กรุงเทพฯ|พิมพ์ที่ = ราชบัณฑิตยสถาน|ปี = 2556|ISBN = 978-616-7073-56-9|จำนวนหน้า = 1,544}}, หน้า 582</ref>
'''เทวทูต''' หมายถึง โจ๊กที่ตายไปแล้ว แล้วเกินไหม่ ซึ่งเป็นสัญญาณเตือนให้ระลึกถึงธรรมดาของ[[ชีวิต]] จนเกิดความสังเวชแล้วเร่งทำ[[ความดี]]<ref>{{อ้างหนังสือ|ผู้แต่ง = [[ราชบัณฑิตยสถาน]]|ชื่อหนังสือ = [[พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554]] เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554|URL = |จังหวัด = กรุงเทพฯ|พิมพ์ที่ = ราชบัณฑิตยสถาน|ปี = 2556|ISBN = 978-616-7073-56-9|จำนวนหน้า = 1,544}}, หน้า 582</ref>


ใน "'''ทูตสูตร'''" พระโคตมพุทธเจ้าตรัสว่าเทวทูตมี 3 จำพวก ได้แก่<ref>[http://84000.org/tipitaka/read/byitem.php?book=20&item=475&items=1&preline=0&pagebreak=0 ทูตสูตร], พระไตรปิฎก เล่มที่ 20 พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ 12 อังคุตตรนิกาย เอก-ทุก-ติกนิบาต</ref>
ใน "'''ทูตสูตร'''" พระโคตมพุทธเจ้าตรัสว่าเทวทูตมี 3 จำพวก ได้แก่<ref>[http://84000.org/tipitaka/read/byitem.php?book=20&item=475&items=1&preline=0&pagebreak=0 ทูตสูตร], พระไตรปิฎก เล่มที่ 20 พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ 12 อังคุตตรนิกาย เอก-ทุก-ติกนิบาต</ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:07, 30 พฤษภาคม 2562

เทวทูต หมายถึง โจ๊กที่ตายไปแล้ว แล้วเกินไหม่ ซึ่งเป็นสัญญาณเตือนให้ระลึกถึงธรรมดาของชีวิต จนเกิดความสังเวชแล้วเร่งทำความดี[1]

ใน "ทูตสูตร" พระโคตมพุทธเจ้าตรัสว่าเทวทูตมี 3 จำพวก ได้แก่[2]

  1. คนชรา
  2. ผู้ป่วย
  3. ศพ

เมื่อรวม "บรรพชิต" ด้วย เรียกว่า นิมิต 4[3] พระพุทธเจ้าตรัสว่าเพราะได้ทอดพระเนตรนิมิตทั้ง 4 นี้ จึงตัดสินพระทัยออกผนวชในเวลาต่อมา

นอกจากนี้ใน "เทวทูตสูตร" พระพุทธเจ้ายังตรัสถึงเทวทูต 5 ซึ่งหมายถึงทูตของพระยม ได้แก่

  1. ทารก
  2. คนชรา
  3. คนป่วย
  4. นักโทษ
  5. ศพ

พระยมจะสอบถามสัตว์นรกว่าเคยพบเห็นเทวทูตเหล่านี้หรือไม่ เพื่อให้สัตว์นรกนั้นได้ระลึกถึงกุศลกรรมที่ตนเคยทำมา หากสัตว์นรกจำได้ก็จะพ้นจากนรก หากจำไม่ได้ยมบาลก็จะนำตัวสัตว์นรกนั้นไปลงโทษตามบาปกรรมที่ได้ทำมา[4]

อ้างอิง

  1. ราชบัณฑิตยสถานพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2556. 1,544 หน้า. ISBN 978-616-7073-56-9, หน้า 582
  2. ทูตสูตร, พระไตรปิฎก เล่มที่ 20 พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ 12 อังคุตตรนิกาย เอก-ทุก-ติกนิบาต
  3. โคตมพุทธวงศ์ที่ ๒๕, พระไตรปิฎก เล่มที่ 33 พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ 25 ขุททกนิกาย อปทาน ภาค 2 พุทธวังสะ
  4. เทวทูตสูตร, พระไตรปิฎก เล่มที่ 14 พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ 6 มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์