ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เซกา แซตเทิร์น"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 7774138 สร้างโดย 110.168.55.72 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3: บรรทัด 3:
|title = เซก้า แซทเทิร์น<br />Sega Saturn
|title = เซก้า แซทเทิร์น<br />Sega Saturn
|logo = [[ไฟล์:SegaSaturn.gif|100px|center|Sega Saturn logo]]
|logo = [[ไฟล์:SegaSaturn.gif|100px|center|Sega Saturn logo]]
| image = <div style="white-space: nowrap; border: #dadada solid 1px;">[[File:Sega-Saturn-Console-Set-Mk1.jpg|250px|The original NA Sega Saturn]]<br>[[File:Sega-Saturn-JP-Mk2-Console-Set.jpg|250px|Model 2 Japanese Sega Saturn]]</div>
|image = [[ไฟล์:Sega saturn.jpg|230px|center|Sega Saturn]]
| caption = '''บน:''' โมเดล 1 ฝั่งอเมริกา<br /> '''ล่าง:''' โมเดล 2 ฝั่งญี่ปุ่น
|manufacturer = [[เซก้า]]
|manufacturer = [[เซก้า]]
|type = [[เครื่องเล่นวิดีโอเกม]]
|type = [[เครื่องเล่นวิดีโอเกม]]
บรรทัด 13: บรรทัด 14:
|unitssold = 10 ล้านเครื่อง
|unitssold = 10 ล้านเครื่อง
|topgame = [[Virtua Fighter 2]]
|topgame = [[Virtua Fighter 2]]
|predecessor = [[เมก้าไดร์ฟ]]
|predecessor = [[เซก้า เมก้าไดรฟ์|เมก้าไดรฟ์]]
|successor = [[ดรีมแคสต์]]
|successor = [[ดรีมแคสต์]]
}}
}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 05:37, 8 มีนาคม 2562

เซก้า แซทเทิร์น
Sega Saturn
Sega Saturn logo
Sega Saturn logo
The original NA Sega Saturn
Model 2 Japanese Sega Saturn
บน: โมเดล 1 ฝั่งอเมริกา
ล่าง: โมเดล 2 ฝั่งญี่ปุ่น
ผู้ผลิตเซก้า
ชนิดเครื่องเล่นวิดีโอเกม
ยุคยุคที่ห้า
วางจำหน่าย22 พฤศจิกายน ค.ศ. 1994 (JP)
11 พฤษภาคม ค.ศ. 1995 (NA)
8 กรกฎาคม ค.ศ. 1995 (EU)
ยอดจำหน่าย10 ล้านเครื่อง
สื่อซีดีรอม
ซีพียู2 x Hitachi SH-2 32-bit RISC (28.6 MHz)
บริการออนไลน์Sega NetLink
เกมที่ขายดีที่สุดVirtua Fighter 2
รุ่นก่อนหน้าเมก้าไดรฟ์
รุ่นถัดไปดรีมแคสต์

เซก้า แซทเทิร์น (อังกฤษ: Sega Saturn) เป็นเครื่องเล่นวิดีโอเกมแบบ 32 บิตของบริษัทเซก้า ออกวางจำหน่ายครั้งแรกวันที่ 22 พฤศจิกายน ค.ศ. 1994 (ประเทศญี่ปุ่น) 11 พฤษภาคม ค.ศ. 1995 (สหรัฐอเมริกา) และ 8 กรกฎาคม ค.ศ. 1995 (สหภาพยุโรป) นับเป็นเครื่องเล่นวิดีโอเกมยุคที่ห้าเครื่องแซทเทิร์นประสบความสำเร็จพอสมควรในญี่ปุ่น แต่ประสบความล้มเหลวในตลาดฝั่งอเมริกาและยุโรป