ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกิพีเดีย:สอนการใช้งาน (แบบเก่า)/จัดรูปแบบ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 42: บรรทัด 42:
{| style="border:none; text-align:left; padding:0.3em;"
{| style="border:none; text-align:left; padding:0.3em;"
|-<!-- COLUMN HEADINGS -->
|-<!-- COLUMN HEADINGS -->
| style="background:#E6F2FF; padding:0.3em; text-align:center;"|'''You type'''
| style="background:#E6F2FF; padding:0.3em; text-align:center;"|'''คุณพิมพ์'''
| width="50%" style="background:#E6F2FF; padding:0.3em; text-align:center;"|'''You get'''
| width="50%" style="background:#E6F2FF; padding:0.3em; text-align:center;"|'''คุณได้'''
|-
|-
|
|
บรรทัด 49: บรรทัด 49:
|
|


== พระมาลาของสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 ==
{{fakeheading|sub=2|พระมาลาของสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2}}


|-
|-
บรรทัด 55: บรรทัด 55:
<tt><nowiki>=== หมวกฟาง ===</nowiki></tt> <br />
<tt><nowiki>=== หมวกฟาง ===</nowiki></tt> <br />
|
|
=== หมวกฟาง ===
{{fakeheading|sub=3|หมวกฟาง}}


|}
|}
บรรทัด 61: บรรทัด 61:
หากบทความมีพาดหัวอย่างน้อย 4 พาดหัว จะสร้างสารบัญอัตโนมัติ
หากบทความมีพาดหัวอย่างน้อย 4 พาดหัว จะสร้างสารบัญอัตโนมัติ


=== ตัวห้อยและตัวยก ===
<div style="float: right; background-color:#f5faff; color: #000; padding: .2em .6em; font-size: 100%; border: 1px solid #cedff2; margin-bottom:3px;">'''สำหรับสารสนเทศเพิ่มเติม ดู [[วิธีใช้:การจัดรูปแบบวิกิ]]'''</div>{{-}}
การใช้รูปแบบตัวห้อย คุณเพิ่มป้ายระบุ <code><nowiki><sub></nowiki></code> เปิดนำหน้าข้อความและปิดด้วยป้ายระบุ <code><nowiki></sub></nowiki></code> ตาม สำหรับตัวยกใช้ <code><nowiki><sup></nowiki></code> และ <code><nowiki></sup></nowiki></code> ตัวอย่างเช่น

== Subscript and superscript ==
To use the subscript format you type an opening <code><nowiki><sub></nowiki></code> tag before the text and a closing <code><nowiki></sub></nowiki></code> tag after it. The tags for superscript are <code><nowiki><sup></nowiki></code> and <code><nowiki></sup></nowiki></code>. Example:
The code {{code|2=html|H<sub>2</sub>SO<sub>4</sub> &amp;rarr; 2 H<sup>+</sup> + SO<sub>4</sub><sup>2&amp;minus;</sup>}}
รหัส {{code|2=html|H<sub>2</sub>SO<sub>4</sub> &amp;rarr; 2 H<sup>+</sup> + SO<sub>4</sub><sup>2&amp;minus;</sup>}}


displays: H<sub>2</sub>SO<sub>4</sub> &rarr; 2 H<sup>+</sup> + SO<sub>4</sub><sup>2&minus;</sup>
แสดงผลเป็น H<sub>2</sub>SO<sub>4</sub> &rarr; 2 H<sup>+</sup> + SO<sub>4</sub><sup>2&minus;</sup>


<div style="float: right; background-color:#f5faff; color: #000; padding: .2em .6em; font-size: 100%; border: 1px solid #cedff2; margin-bottom:3px;">'''For more information, see [[Help:Wiki markup]]'''</div>{{-}}
<div style="float: right; background-color:#f5faff; color: #000; padding: .2em .6em; font-size: 100%; border: 1px solid #cedff2; margin-bottom:3px;">'''สำหรับสารสนเทศเพิ่มเติม ดู [[วิธีใช้:การจัดรูปแบบวิกิ]]'''</div>{{-}}

== HTML ==


== เอชทีเอ็มแอล ==
Wikitext contains all the features required to follow Wikipedia's formatting conventions. However, its formatting capabilities are limited. If you want to have more control of the formatting, such as using colors, text and paragraph styles, and page layout you can use [[HTML]]. HTML is the language used to format web pages in the Internet. It is more powerful than wikitext, but it's also more complex and harder to use.
ข้อความวิกิมีคุณลักษณะทั้งหมดที่กำหนดให้เป็นไปตามขนบธรรมเนียมการจัดรูปแบบของวิกิพีเดีย ทว่า ขีดความสามารถจัดรูปแบบของมันมีข้อจำกัด หากคุณต้องการควบคุมการจัดรูปแบบให้มากขึ้น เช่น การใช้สี ลีลาข้อความและย่อนห้า และผังหน้า คุณสามารถใช้[[เอชทีเอ็มแอล]]ได้ แต่เอชทีเอ็มแอลยากและซับซ้อนกว่าข้อความวิกิ


<div style="float: right; background-color:#f5faff; color: #000; padding: .2em .6em; font-size: 100%; border: 1px solid #cedff2; margin-bottom:3px;">'''For more information, see [[Help:HTML in wikitext]]'''</div>{{-}}
<div style="float: right; background-color:#f5faff; color: #000; padding: .2em .6em; font-size: 100%; border: 1px solid #cedff2; margin-bottom:3px;">'''สำหรับสารสนเทศเพิ่มเติม ดู [[วิธีใช้:เอชทีเอ็มแอลในข้อความวิกิ]]'''</div>{{-}}


== แถบเครื่องมือแก้ไข ==
== Editor toolbars ==
ตัวแก้ไขของวิกิพีเดียมีสองแถบเครื่องมือที่ช่วยการใช้ป้ายระบุวิกิ ตัวอย่างเช่น หากคุณต้องการพิมพ์ข้อความเป็นตัวเส้นหนา แทนที่จะพิมพ์ป้ายระบุ <code><nowiki>'''</nowiki></code> ด้วยมือ คุณสามารถกดปุ่ม'''ตัวเส้นหนา''' แล้วคลิกข้อความในนั้นได้โดยตรง
The Wikipedia editor has two toolbars with buttons that help with the use of wiki tags. For instance, if you want to type a text in bold, instead of manually typing the <code><nowiki>'''</nowiki></code> tags, you can just press the '''Bold''' button and then type the text in bold directly.


{| class="wikitable"
{| class="wikitable"
|+ แถบเครื่องมือเสริม : การเลือกหลัก
|+ Enhanced toolbar: main selections
|-
|-
| colspan="4" style="text-align: center;" |[[File:RefToolbar 2.0a.png|Enhanced editing toolbar|link=]]
| colspan="4" style="text-align: center;" |[[File:RefToolbar 2.0a.png|Enhanced editing toolbar|link=]]
|-
|-
! ไอคอน !! ฟังก์ชัน !! สิ่งที่แสดงเมื่อกำลังแก้ไข !! สิ่งที่แสดงในหน้า
! Icon !! Function !! What it shows when editing !! What it shows on the page
|-
|-
|[[File:Vector toolbar bold B button.png|Bold text|link=]]
|[[File:Vector toolbar bold B button.png|Bold text|link=]]
|ตัวเส้นหนา
|Bold
|<code><nowiki>'''Bold text'''</nowiki></code>
|<code><nowiki>'''ข้อความตัวหนา'''</nowiki></code>
|'''ข้อความตัวหนา'''
|'''Bold text'''
|-
|-
|[[File:Vector toolbar italic I button.png|Italic text|link=]]
|[[File:Vector toolbar italic I button.png|Italic text|link=]]
|ตัวเอน
|Italic
|<code><nowiki>''Italic text''</nowiki></code>
|<code><nowiki>''ข้อความตัวเอน''</nowiki></code>
|''ข้อความตัวเอน''
|''Italic text''
|-
|-
|[[File:Vector toolbar insert external link button.png|External link|link=]]
|[[File:Vector toolbar insert external link button.png|External link|link=]]
|ลิงก์ภายนอก
|External link
|<code><nowiki>[http://www.example.com link title]</nowiki></code>
|<code><nowiki>[http://www.example.com ชื่อลิงก์]</nowiki></code>
| [http://www.example.com link title]
| [http://www.example.com ชื่อลิงก์]
|-
|-
|[[File:Vector toolbar insert internal link button.png|Internal link|link=]]
|[[File:Vector toolbar insert internal link button.png|Internal link|link=]]
|ลิงก์ภายใน
|Internal link
|<code><nowiki>[[Link title]]</nowiki></code>
|<code><nowiki>[[ชื่อลิงก์]]</nowiki></code>
|[[ชื่อลิงก์]]
|[[Link title]]
|-
|-
|[[File:Vector toolbar insert image button.png|Embedded file|link=]]
|[[File:Vector toolbar insert image button.png|Embedded file|link=]]
|แทรกภาพ
|Insert image
|<code><nowiki>[[File:Example.jpg|thumbnail]]</nowiki></code>
|<code><nowiki>[[File:Example.jpg|thumbnail]]</nowiki></code>
| [[File:Example.jpg|90px|thumbnail]]
| [[File:Example.jpg|90px|thumbnail]]
|-
|-
| [[File:Vector toolbar insert reference button.png|link=]]
| [[File:Vector toolbar insert reference button.png|link=]]
| แทรกการอ้างอิง
| Insert {{fnote}}
| <code><nowiki><ref>Insert footnote text here</ref></nowiki></code>
| <code><nowiki><ref>แทรกข้อความอ้างอิงที่นี่</ref></nowiki></code>
| <ref>แทรกข้อความอ้างอิงที่นี่</ref>
| <ref>Insert footnote text here</ref>
|-
|-
|[[File:Vector toolbar signature button.png|40px|Your signature with timestamp|link=]]
|[[File:Vector toolbar signature button.png|40px|Your signature with timestamp|link=]]
|เซ็นความเห็นคุย<br />(พร้อมตราเวลา)
|Sign talk comments<br />(with time stamp)
|<code><nowiki>--~~~~</nowiki></code>
|<code><nowiki>--~~~~</nowiki></code>
|[[Special:Mypage|Username]] ([[Special:Mytalk|talk]]) {{CURRENTTIME}}, {{CURRENTDAY}} {{CURRENTMONTHNAME}} {{CURRENTYEAR}} (UTC)
|[[Special:Mypage|ชื่อผู้ใช้]] ([[Special:Mytalk|คุย]]) {{CURRENTTIME}}, {{CURRENTDAY}} {{CURRENTMONTHNAME}} {{CURRENTYEAR}} (UTC)
|-
|-
|}
|}
{{-}}
{{-}}
<div style="float: right; background-color:#f5faff; color: #000; padding: .2em .6em; font-size: 100%; border: 1px solid #cedff2; margin-bottom:3px;">'''For more information, see [[Help:Edit toolbar]]'''</div>{{-}}
<div style="float: right; background-color:#f5faff; color: #000; padding: .2em .6em; font-size: 100%; border: 1px solid #cedff2; margin-bottom:3px;">'''สำหรับสารสนเทศเพิ่มเติม ดู [[วิธีใช้:แถบเครื่องมือแก้ไข]]'''</div>{{-}}
{{-}}
{{-}}
<noinclude>
<noinclude>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:10, 15 กุมภาพันธ์ 2561

วิกิพีเดีย:Tutorial/TabsHeader

การจัดรูปแบบบทความวิกิพีเดียต่างจากการเขียนในโปรแกรมประมวลคำมาตรฐานหรือในวิชวลเอดิเตอร์ (VisualEditor) ที่เป็นสิ่งแวดล้อมแก้ไขทางเลือกของวิกิพีเดีย วิกิพีเดียใช้รหัสข้อความเรียก ป้ายระบุวิกิ เพื่อสร้างส่วนย่อยต่าง ๆ ในหน้า (เช่น พาดหัว) ภาษามาร์กอัพนี้เรียก ข้อความวิกิ และออกแบบมาเพื่อให้แก้ไขได้ง่าย ดู กระดาษจดโค้ด สำหรับรายการอ้างอิงอย่างรวดเร็วของรหัสข้อความวิกิ บทความซับซ้อนอาจยึดแบบผังจากบทความเดิมที่มีโครงสร้างและหัวข้อที่เหมาะสม

ตัวเส้นหนาและตัวเอน

ป้ายระบุวิกิที่ใช้มากที่สุดได้แก่ ตัวเส้นหนา และ ตัวเอน ซึ่งทำตัวเส้นหนาและตัวเอนโดยใส่เครื่องหมายอะพอสทรอฟี (') หลายตัวคร่อมคำหรือวลีนั้น

การอ้างอิงรวดเร็วมาร์กอัพวิกิ (ดาวน์โหลด PDF)
คุณพิมพ์ คุณได้
''ตัวเอน'' ตัวเอน

'''ตัวเส้นหนา'''

ตัวเส้นหนา

'''''ตัวเอนและเส้นหนา'''''

ตัวเอนและเส้นหนา

ในวิกิพีเดีย ชื่อของเรื่องบทความเขียนด้วยตัวเส้นหนา เมื่อกล่าวถึงครั้งแรกในบทความ ตัวอย่างเช่น ในบทความ สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร ขึ้นต้นว่า

สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 (อังกฤษ: Elizabeth II; พระราชสมภพ 21 เมษายน พ.ศ. 2469) ทรงเป็นพระมหาราชินีของ 16 ประเทศ จาก 53 รัฐสมาชิกในเครือจักรภพแห่งชาติ พระองค์เป็นประธานเครือจักรภพและผู้ปกครองสูงสุดแห่งคริสตจักรแห่งอังกฤษ...

ตัวเอน อาจใช้กับชื่อหนังสือ ภาพยนตร์ อัลบั้ม และเกมคอมพิวเตอร์ หากกล่าวถึงเรื่องบทความที่เป็นชื่อเหล่านี้ ก็ใช้ ตัว ตัวเอนและเส้นหนา

พาดหัวและพาดหัวย่อย

พาดหัวและพาดหัวย่อยเป็นวิธีจัดระเบียบบทความ หากบทความอภิปรายหลายหัวข้อและอุทิศเนื้อหาที่มีความยาวพอสมควรแก่หัวข้อนั้น คุณสามารถจัดให้บทความน่าอ่านมากขึ้นโดยแทรกะพาดหัวสำหรับแต่ละหัวข้อ เป็นการสร้างส่วนสำหรับแต่ละหัวข้อ

คุณสามารถสร้างส่วนภายในส่วน (หรือส่วนย่อย) ได้โดยใช้พาดหัวย่อย

คุณสามารถสร้างพาดหัวย่อยคร่อมข้อความพาดหัวด้วยป้ายระบุวิกิ "=" หลายตัว ยิ่งมีสัญลักษณ์ "=" ในป้ายระบุวิกิเท่าไหร่ พาดหัวยิ่งเป็นส่วนย่อยมากเท่านั้น

คุณพิมพ์ คุณได้

== พระมาลาของสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 ==

พระมาลาของสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2

=== หมวกฟาง ===

หมวกฟาง

หากบทความมีพาดหัวอย่างน้อย 4 พาดหัว จะสร้างสารบัญอัตโนมัติ

ตัวห้อยและตัวยก

การใช้รูปแบบตัวห้อย คุณเพิ่มป้ายระบุ <sub> เปิดนำหน้าข้อความและปิดด้วยป้ายระบุ </sub> ตาม สำหรับตัวยกใช้ <sup> และ </sup> ตัวอย่างเช่น

รหัส H<sub>2</sub>SO<sub>4</sub> &amp;rarr; 2 H<sup>+</sup> + SO<sub>4</sub><sup>2&amp;minus;</sup>

แสดงผลเป็น H2SO4 → 2 H+ + SO42−

สำหรับสารสนเทศเพิ่มเติม ดู วิธีใช้:การจัดรูปแบบวิกิ

เอชทีเอ็มแอล

ข้อความวิกิมีคุณลักษณะทั้งหมดที่กำหนดให้เป็นไปตามขนบธรรมเนียมการจัดรูปแบบของวิกิพีเดีย ทว่า ขีดความสามารถจัดรูปแบบของมันมีข้อจำกัด หากคุณต้องการควบคุมการจัดรูปแบบให้มากขึ้น เช่น การใช้สี ลีลาข้อความและย่อนห้า และผังหน้า คุณสามารถใช้เอชทีเอ็มแอลได้ แต่เอชทีเอ็มแอลยากและซับซ้อนกว่าข้อความวิกิ

สำหรับสารสนเทศเพิ่มเติม ดู วิธีใช้:เอชทีเอ็มแอลในข้อความวิกิ

แถบเครื่องมือแก้ไข

ตัวแก้ไขของวิกิพีเดียมีสองแถบเครื่องมือที่ช่วยการใช้ป้ายระบุวิกิ ตัวอย่างเช่น หากคุณต้องการพิมพ์ข้อความเป็นตัวเส้นหนา แทนที่จะพิมพ์ป้ายระบุ ''' ด้วยมือ คุณสามารถกดปุ่มตัวเส้นหนา แล้วคลิกข้อความในนั้นได้โดยตรง

แถบเครื่องมือเสริม : การเลือกหลัก
Enhanced editing toolbar
ไอคอน ฟังก์ชัน สิ่งที่แสดงเมื่อกำลังแก้ไข สิ่งที่แสดงในหน้า
Bold text ตัวเส้นหนา '''ข้อความตัวหนา''' ข้อความตัวหนา
Italic text ตัวเอน ''ข้อความตัวเอน'' ข้อความตัวเอน
External link ลิงก์ภายนอก [http://www.example.com ชื่อลิงก์] ชื่อลิงก์
Internal link ลิงก์ภายใน [[ชื่อลิงก์]] ชื่อลิงก์
Embedded file แทรกภาพ [[File:Example.jpg|thumbnail]]
แทรกการอ้างอิง <ref>แทรกข้อความอ้างอิงที่นี่</ref> [1]
Your signature with timestamp เซ็นความเห็นคุย
(พร้อมตราเวลา)
--~~~~ ชื่อผู้ใช้ (คุย) 12:56, 26 เมษายน 2024 (UTC)
สำหรับสารสนเทศเพิ่มเติม ดู วิธีใช้:แถบเครื่องมือแก้ไข
Continue the tutorial with Wikipedia links


  1. แทรกข้อความอ้างอิงที่นี่