ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อัมมาร สยามวาลา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
นิลกาฬ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.อัมมาร สยามวาลา''' (29 พฤษภาคม พ.ศ. 2482 - <ref name="tdri">[http://www.tdri.or.th/en/cv/ammar_t.pdf ประวัติ ดร. อัมมาร สยามวาลา]</ref> ) นักเศรษฐศาสตร์ อดีตประธาน[[สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย]] (ทีดีอาร์ไอ) อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เป็นผู้เชี่ยวชาญเรื่อง[[ข้าว]] เศรษฐศาสตร์[[การเกษตรกรรม]] และการพัฒนา <ref>http://www.nidambe11.net/person/biography/ammar_siamwalla.htm</ref>
'''ศาสตราจารย์พิเศษ อัมมาร สยามวาลา''' (29 พฤษภาคม พ.ศ. 2482 - <ref name="tdri">[http://www.tdri.or.th/en/cv/ammar_t.pdf ประวัติ ดร. อัมมาร สยามวาลา]</ref> ) นักเศรษฐศาสตร์ อดีตประธาน[[สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย]] (ทีดีอาร์ไอ) อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เป็นผู้เชี่ยวชาญเรื่อง[[ข้าว]] เศรษฐศาสตร์[[การเกษตรกรรม]] และการพัฒนา <ref>http://www.nidambe11.net/person/biography/ammar_siamwalla.htm</ref>


บรรพบุรุษของ ดร. อัมมาร เป็นชาวอินเดียที่ย้ายถิ่นฐานเข้ามาในประเทศไทย ดร. อัมมาร เป็นบุตรคนสุดท้องในจำนวนสามคนของ นายตาเฮอร์ และนางคาดีจาฮ์ สยามวาลา <ref>[http://www.gotomanager.com/news/details.aspx?id=56805 พี่น้องสยามวาลา หน่วยที่แบ่งแยกไม่ได้] นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2550</ref> เจ้าของบริษัท[[ดี เอช เอ สยามวาลา]] ตัวแทนจำหน่ายและนำเข้าเครื่องเขียนจากต่างประเทศ <ref>[http://www.stationerythai.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=538497&Ntype=6 100 ปี บริษัท ดี เอช เอ สยามวาลา จำกัด]</ref> จบการศึกษาจาก[[โรงเรียนอัสสัมชัญ]] ศึกษาต่อที่โรงเรียน St. Paul เมือง[[ดาร์จีลิง]] [[ประเทศอินเดีย]] ปริญญาตรีเศรษฐศาสตร์จาก[[มหาวิทยาลัยลอนดอน]] ปริญญาเอกเศรษฐศาสตร์จาก[[มหาวิทยาลัยฮาวาร์ด]] เคยเป็นอาจารย์สอนวิชาเศรษฐศาสตร์ที่[[มหาวิทยาลัยเยล]] และ[[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]]<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2524/D/066/1.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งศาสตราจารย์พิเศษ (นายอัมมาร์ สยามวาลา)]</ref><ref name="tdri"/>
บรรพบุรุษของ ศาสตราจารย์พิเศษ อัมมาร สยามวาลา หรือ ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.อัมมาร สยามวาลา เป็นชาวอินเดียที่ย้ายถิ่นฐานเข้ามาในประเทศไทย ดร. อัมมาร เป็นบุตรคนสุดท้องในจำนวนสามคนของ นายตาเฮอร์ และนางคาดีจาฮ์ สยามวาลา <ref>[http://www.gotomanager.com/news/details.aspx?id=56805 พี่น้องสยามวาลา หน่วยที่แบ่งแยกไม่ได้] นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2550</ref> เจ้าของบริษัท[[ดี เอช เอ สยามวาลา]] ตัวแทนจำหน่ายและนำเข้าเครื่องเขียนจากต่างประเทศ <ref>[http://www.stationerythai.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=538497&Ntype=6 100 ปี บริษัท ดี เอช เอ สยามวาลา จำกัด]</ref> จบการศึกษาจาก[[โรงเรียนอัสสัมชัญ]] ศึกษาต่อที่โรงเรียน St. Paul เมือง[[ดาร์จีลิง]] [[ประเทศอินเดีย]] ปริญญาตรีเศรษฐศาสตร์จาก[[มหาวิทยาลัยลอนดอน]] ปริญญาเอกเศรษฐศาสตร์จาก[[มหาวิทยาลัยฮาวาร์ด]] เคยเป็นอาจารย์สอนวิชาเศรษฐศาสตร์ที่[[มหาวิทยาลัยเยล]] และ[[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]]<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2524/D/066/1.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งศาสตราจารย์พิเศษ (นายอัมมาร์ สยามวาลา)]</ref><ref name="tdri"/>


เช่นเดียวกับ [[ป๋วย อึ๊งภากรณ์|ศ.ดร.ป๋วย อึ๊งภากรณ์]] และนักวิชาการอื่นๆ ดร. อัมมาร ได้ออกจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์หลัง[[เหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519]]
เช่นเดียวกับ [[ป๋วย อึ๊งภากรณ์|ศ.ดร.ป๋วย อึ๊งภากรณ์]] และนักวิชาการอื่นๆ ดร. อัมมาร ได้ออกจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์หลัง[[เหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:04, 26 มกราคม 2561

ศาสตราจารย์พิเศษ อัมมาร สยามวาลา (29 พฤษภาคม พ.ศ. 2482 - [1] ) นักเศรษฐศาสตร์ อดีตประธานสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ) อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เป็นผู้เชี่ยวชาญเรื่องข้าว เศรษฐศาสตร์การเกษตรกรรม และการพัฒนา [2]

บรรพบุรุษของ ศาสตราจารย์พิเศษ อัมมาร สยามวาลา หรือ ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.อัมมาร สยามวาลา เป็นชาวอินเดียที่ย้ายถิ่นฐานเข้ามาในประเทศไทย ดร. อัมมาร เป็นบุตรคนสุดท้องในจำนวนสามคนของ นายตาเฮอร์ และนางคาดีจาฮ์ สยามวาลา [3] เจ้าของบริษัทดี เอช เอ สยามวาลา ตัวแทนจำหน่ายและนำเข้าเครื่องเขียนจากต่างประเทศ [4] จบการศึกษาจากโรงเรียนอัสสัมชัญ ศึกษาต่อที่โรงเรียน St. Paul เมืองดาร์จีลิง ประเทศอินเดีย ปริญญาตรีเศรษฐศาสตร์จากมหาวิทยาลัยลอนดอน ปริญญาเอกเศรษฐศาสตร์จากมหาวิทยาลัยฮาวาร์ด เคยเป็นอาจารย์สอนวิชาเศรษฐศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยเยล และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์[5][1]

เช่นเดียวกับ ศ.ดร.ป๋วย อึ๊งภากรณ์ และนักวิชาการอื่นๆ ดร. อัมมาร ได้ออกจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์หลังเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 ประวัติ ดร. อัมมาร สยามวาลา
  2. http://www.nidambe11.net/person/biography/ammar_siamwalla.htm
  3. พี่น้องสยามวาลา หน่วยที่แบ่งแยกไม่ได้ นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2550
  4. 100 ปี บริษัท ดี เอช เอ สยามวาลา จำกัด
  5. ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งศาสตราจารย์พิเศษ (นายอัมมาร์ สยามวาลา)
  6. ราชกิจจานุเบกษา ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ประจำปี 2550 เล่ม 124 ตอนที่ 18ข วันที่ 5 ธันวาคม 2550
  7. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า (เนื่องในโอกาสพระราชพิธีฉัตรมงคล วันที่ ๕ พฤษภาคม ๒๕๕๐ จำนวน ๑๒๒ ราย), เล่ม ๑๒๔, ตอน ๖ ข, ๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๐, หน้า ๑