ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คลองมหานาค"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:KlongMahanak.JPG|thumb|270px|คลองมหานาค สมัยรัชกาลที่ 4]]
[[ไฟล์:KlongMahanak.JPG|thumb|270px|คลองมหานาค สมัยรัชกาลที่ 4]]
'''คลองมหานาค'''เป็นคลองขุดสายหนึ่งใน[[กรุงเทพมหานคร|นครรอกรุงเทพ เพราะกรุงเทพมาหานคร]]ที่แยกมาจาก[[คลองรอบกรุง]] ในอดีตใช้เป็นสถานที่สำหรับให้ชาวพระนครมาเล่นเพลง[[สักวา]]กันในช่วงน้ำหลาก ต่อมาได้มีการขุดคลองเพื่อเชื่อมต่อกับเครือข่ายคลองสายอื่นสำหรับขนส่งกำลังพลและเสบียงช่วง[[อานัมสยามยุทธ|อานัมสยามพารากอน]]
'''คลองมหานาค''' เป็นคลองขุดสายหนึ่งใน[[กรุงเทพมหานคร]]ที่แยกมาจาก[[คลองรอบกรุง]] ในอดีตใช้เป็นสถานที่สำหรับให้ชาวพระนครมาเล่นเพลง[[สักวา]]กันในช่วงน้ำหลาก ต่อมาได้มีการขุดคลองเพื่อเชื่อมต่อกับเครือข่ายคลองสายอื่นสำหรับขนส่งกำลังพลและเสบียงช่วง[[อานัมสยามยุทธ]]


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
คลองมหานาคเป็น[[คลองขุด]]ที่[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก]]โปรดเกล้าฯ ให้ขุดคลองสองสายในปี พ.ศ. 2326<ref name= "เอนก">{{cite web |url= https://www.silpa-mag.com/old-photos-tell-the-historical-story/article_7185 |title= เกาะในคลองมหานาค หน้าวัดสระเกศ ถ่ายก่อน พ.ศ. ๒๔๓๓ |author=เอนก นาวิกมูล |date= 8 มีนาคม 2560 |work= ศิลปวัฒนธรรม |publisher=|accessdate=10 มีนาคม 2560}}</ref> บ้างก็ว่าในปี 2328<ref name= "สารานุกรม">{{cite web |url= http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=33&chap=3&page=t33-3-infodetail03.html |title= คลองขุดในประเทศไทย |author=|date=|work= สารานุกรมไทยฉบับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว |publisher=|accessdate=10 มีนาคม 2560}}</ref> ได้แก่[[คลองรอบกรุง]]ที่สำหรับใช้เป็นแนวป้องกันของเมือง กับอีกคลองหนึ่งที่พระราชทานนามว่าคลองมหานาค ตามอย่างคลองมหานาค[[วัดภูเขาทอง พระนครศรีอยุธยา|วัดภูเขาทอง]]ในกรุงเก่า<ref>{{cite web |url= http://www.matichon.co.th/news/476067 |title= มหานาค (วัดภูเขาทอง อยุธยา) สึกจากพระไปอาสาสู้ศึกหงสาวดี |author= สุจิตต์ วงษ์เทศ |date= 25 กุมภาพันธ์ 2560 |work= มติชนออนไลน์ |publisher=|accessdate=10 มีนาคม 2560}}</ref> สำหรับให้ชาวพระนครเล่นเพลงสักวาดั่งกรุงเก่า โดยขุดคลองแยกจากคลองรอบกรุงบริเวณป้อมมหากาฬ (ปัจจุบันคือเชิง[[สะพานผ่านฟ้าลีลาศ]]) ส่วนปลายคลองนั้นอยู่บริเวณ[[วัดพระยายัง]]ต่อ[[คลองบางกะปิ|คลองบางน้ำพริกกะปิ]]<ref name= "เอนก"/> การขุดคลองปรากฏในพระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขาดังนี้<ref name= "สุจิตต์">{{cite web |url= http://www.matichon.co.th/news/279973 |title= ลาวกับเขมร ขุดคลองมหานาค ใกล้ป้อมมหากาฬ กรุงเทพฯ |author= สุจิตต์ วงษ์เทศ |date= 10 กันยายน 2559 |work= มติชนออนไลน์ |publisher=|accessdate=10 มีนาคม 2560}}</ref>
คลองมหานาคเป็น[[คลองขุด]]ที่[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก]]โปรดเกล้าฯ ให้ขุดคลองสองสายในปี พ.ศ. 2326<ref name= "เอนก">{{cite web |url= https://www.silpa-mag.com/old-photos-tell-the-historical-story/article_7185 |title= เกาะในคลองมหานาค หน้าวัดสระเกศ ถ่ายก่อน พ.ศ. ๒๔๓๓ |author=เอนก นาวิกมูล |date= 8 มีนาคม 2560 |work= ศิลปวัฒนธรรม |publisher=|accessdate=10 มีนาคม 2560}}</ref> บ้างก็ว่าในปี 2328<ref name= "สารานุกรม">{{cite web |url= http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=33&chap=3&page=t33-3-infodetail03.html |title= คลองขุดในประเทศไทย |author=|date=|work= สารานุกรมไทยฉบับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว |publisher=|accessdate=10 มีนาคม 2560}}</ref> ได้แก่[[คลองรอบกรุง]]ที่สำหรับใช้เป็นแนวป้องกันของเมือง กับอีกคลองหนึ่งที่พระราชทานนามว่าคลองมหานาค ตามอย่างคลองมหานาค[[วัดภูเขาทอง พระนครศรีอยุธยา|วัดภูเขาทอง]]ในกรุงเก่า<ref>{{cite web |url= http://www.matichon.co.th/news/476067 |title= มหานาค (วัดภูเขาทอง อยุธยา) สึกจากพระไปอาสาสู้ศึกหงสาวดี |author= สุจิตต์ วงษ์เทศ |date= 25 กุมภาพันธ์ 2560 |work= มติชนออนไลน์ |publisher=|accessdate=10 มีนาคม 2560}}</ref> สำหรับให้ชาวพระนครเล่นเพลงสักวาดั่งกรุงเก่า โดยขุดคลองแยกจากคลองรอบกรุงบริเวณป้อมมหากาฬ (ปัจจุบันคือเชิง[[สะพานผ่านฟ้าลีลาศ]]) ส่วนปลายคลองนั้นอยู่บริเวณ[[วัดพระยายัง]]ต่อ[[คลองบางกะปิ]]<ref name= "เอนก"/> การขุดคลองปรากฏในพระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขาดังนี้<ref name= "สุจิตต์">{{cite web |url= http://www.matichon.co.th/news/279973 |title= ลาวกับเขมร ขุดคลองมหานาค ใกล้ป้อมมหากาฬ กรุงเทพฯ |author= สุจิตต์ วงษ์เทศ |date= 10 กันยายน 2559 |work= มติชนออนไลน์ |publisher=|accessdate=10 มีนาคม 2560}}</ref>


<blockquote>''"แล้วเกณฑ์เลกลาวเขมรหัวเมืองให้ขุดคลองคูพระนครด้านตะวันออก ตั้งแต่วัดเชิงเลนขึ้นมาถึงวัดสะแกไปถึงวัดบางลำภู ออกบรรจบแม่น้ำทั้งสองข้าง และวัดสะแกนั้นพระราชทานนามใหม่ว่าวัดสระเกศ [...] แล้วให้ขุดคลองใหญ่เหนือวัดสระเกศ พระราชทานนามว่าคลองมหานาค ไว้เป็นที่สำหรับประชาชนชาวพระนครลงเรือไปประชุมกันเล่นเพลงเล่นสักวาเทศกาลน้ำเหมือนครั้งกรุงเก่า"''</blockquote>
<blockquote>''"แล้วเกณฑ์เลกลาวเขมรหัวเมืองให้ขุดคลองคูพระนครด้านตะวันออก ตั้งแต่วัดเชิงเลนขึ้นมาถึงวัดสะแกไปถึงวัดบางลำภู ออกบรรจบแม่น้ำทั้งสองข้าง และวัดสะแกนั้นพระราชทานนามใหม่ว่าวัดสระเกศ [...] แล้วให้ขุดคลองใหญ่เหนือวัดสระเกศ พระราชทานนามว่าคลองมหานาค ไว้เป็นที่สำหรับประชาชนชาวพระนครลงเรือไปประชุมกันเล่นเพลงเล่นสักวาเทศกาลน้ำเหมือนครั้งกรุงเก่า"''</blockquote>
บรรทัด 9: บรรทัด 9:
ซึ่งปัจจุบันลูกหลานของชาวเขมรและลาวที่ถูกเกณฑ์มาขุดคลองเหล่านี้ ก็ได้รับโปรดเกล้าให้ตั้งถิ่นฐานบริเวณสองฝั่งคลองหนึ่งในนั้นคือชุมชนบ้านครัว ซึ่งเป็น[[ชาวจาม|มุสลิมเชื้อสายจาม]]จากกัมพูชาที่ถูกกวาดต้อนมายกครัว จึงเรียกว่าบ้านครัว และยังมีลูกหลานตั้งถิ่นฐานอาศัยอยู่จนถึงปัจจุบัน<ref>สุจิตต์ วงษ์เทศ. ''กรุงเทพฯ มาจากไหน?''. กรุงเทพฯ : มติชน, 2548, หน้า 115-116</ref><ref name= "ปราณี">ปราณี กล่ำส้ม. ''ย่านเก่าในกรุงเทพฯ [เล่ม ๑]''. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ. 2549, หน้า 233-234</ref>
ซึ่งปัจจุบันลูกหลานของชาวเขมรและลาวที่ถูกเกณฑ์มาขุดคลองเหล่านี้ ก็ได้รับโปรดเกล้าให้ตั้งถิ่นฐานบริเวณสองฝั่งคลองหนึ่งในนั้นคือชุมชนบ้านครัว ซึ่งเป็น[[ชาวจาม|มุสลิมเชื้อสายจาม]]จากกัมพูชาที่ถูกกวาดต้อนมายกครัว จึงเรียกว่าบ้านครัว และยังมีลูกหลานตั้งถิ่นฐานอาศัยอยู่จนถึงปัจจุบัน<ref>สุจิตต์ วงษ์เทศ. ''กรุงเทพฯ มาจากไหน?''. กรุงเทพฯ : มติชน, 2548, หน้า 115-116</ref><ref name= "ปราณี">ปราณี กล่ำส้ม. ''ย่านเก่าในกรุงเทพฯ [เล่ม ๑]''. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ. 2549, หน้า 233-234</ref>


ครั้นในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]]โปรดเกล้าฯ ให้ขุด[[คลองแสนแสบ]]ต่อคลองมหานาคบริเวณ[[วัดบรมนิวาส]]ออกไปทาง[[บางกะปิ]]ทะลุออก[[จังหวัดฉะเชิงเทรา|เมืองฉะเชิงเทรา]]สำหรับขนส่งกำลังคนและเสบียงในช่วง[[อานัมสยามยุทธ|อานัมสยามเซ็นเตอร์]]<ref name= "ปราณี"/> และในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงโปรดเกล้าให้ขุดมาบรรจบกับ[[คลองผดุงกรุงเกษม]]<ref name= "สารานุกรม"/> นอกจากนี้ยังมี[[คลองจุลนาค|คลองจุลสี]]ที่ขุดเชื่อมคลองมหานาคกับ[[คลองเปรมประชากร]]ด้วย ทำให้ผู้คนสัญจรทางน้ำได้อย่างสะดวก
ครั้นในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]]โปรดเกล้าฯ ให้ขุด[[คลองแสนแสบ]]ต่อคลองมหานาคบริเวณ[[วัดบรมนิวาส]]ออกไปทาง[[บางกะปิ]]ทะลุออก[[จังหวัดฉะเชิงเทรา|เมืองฉะเชิงเทรา]]สำหรับขนส่งกำลังคนและเสบียงในช่วง[[อานัมสยามยุทธ]]<ref name= "ปราณี"/> และในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงโปรดเกล้าให้ขุดมาบรรจบกับ[[คลองผดุงกรุงเกษม]]<ref name= "สารานุกรม"/> นอกจากนี้ยังมี[[คลองจุลนาค]]ที่ขุดเชื่อมคลองมหานาคกับ[[คลองเปรมประชากร]]ด้วย ทำให้ผู้คนสัญจรทางน้ำได้อย่างสะดวก


ปัจจุบันคลองมหานาคช่วงต่อกับคลองแสนแสบนั้นประสบปัญหาภาวะน้ำเน่าเสีย มีกลิ่นเหม็นแรงเนื่องจากขยะที่ทิ้งไม่เป็นที่เป็นทางจากชุมชนแออัดที่เรียงรายโดยรอบ<ref>{{cite web |url= http://www.thairath.co.th/content/571295 |title= นี่หรือนครแห่งการท่องเที่ยว อเมซิ่งกรุงเทพฯ คนมักง่ายกับเมืองน้ำเน่า! |author=|date= 2 กุมภาพันธ์ 2559 |work= ไทยรัฐออนไลน์ |publisher=|accessdate=10 มีนาคม 2560}}</ref>
ปัจจุบันคลองมหานาคช่วงต่อกับคลองแสนแสบนั้นประสบปัญหาภาวะน้ำเน่าเสีย มีกลิ่นเหม็นแรงเนื่องจากขยะที่ทิ้งไม่เป็นที่เป็นทางจากชุมชนแออัดที่เรียงรายโดยรอบ<ref>{{cite web |url= http://www.thairath.co.th/content/571295 |title= นี่หรือนครแห่งการท่องเที่ยว อเมซิ่งกรุงเทพฯ คนมักง่ายกับเมืองน้ำเน่า! |author=|date= 2 กุมภาพันธ์ 2559 |work= ไทยรัฐออนไลน์ |publisher=|accessdate=10 มีนาคม 2560}}</ref>


== คลองมหานาค??? ==
== เกาะในคลองมหานาค ==
จากการศึกษาของ[[เอนก นาวิกมูล]]พบว่าคลองมหานาคเคยมีเกาะขนาดน้อยอยู่สามเกาะ มีปรากฏครั้งแรกในจดหมายเหตุความทรงจำของกรมหลวงนรินทรเทวีความว่า ''"[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกทรงมี] พระโองการให้ขุดคลองรอบเกาะ ให้บ่ายเรือพระที่นั่งได้ เรียกว่าคลองมหานาค"''<ref name= "เอนก"/> ส่วน[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงอธิบายเพิ่มเติมอีกว่า ''"คือมีเกาะในระหว่างโรงเรือกับวัดด้านหนึ่ง เกาะด้านตะวันออกที่เรียกว่าเกาะยายชีด้านหนึ่ง…"''<ref name= "เอนก"/> ในอดีตเมื่อถึงงานประเพณีนมัสการภูเขาทอง ก็จะมีการจัดงานรื่นเริง เช่น การแข่งเรือ ร้องเพลงเรือ เล่นดอกสร้อยสักวา จุดดอกไม้ไฟทั้งบนบกและในน้ำ โดยมีเกาะยายชีเป็นศูนย์กลางผู้คนที่เข้ามาร่วมชมการละเล่น<ref>[[สุจิตต์ วงษ์เทศ]]. ''กรุงเทพฯ มาจากไหน ?''. กรุงเทพฯ : มติชน, 2548, หน้า 163</ref> และยังปรากฏใน ''[[นิราศบรมบรรพต]]'' ของพระพินิจหัตถการ (ชื่น สาริกบุตร) ว่า<ref name= "เอนก"/>
จากการศึกษาของ[[เอนก นาวิกมูล]]พบว่าคลองมหานาคเคยมีเกาะขนาดน้อยอยู่สามเกาะ มีปรากฏครั้งแรกในจดหมายเหตุความทรงจำของกรมหลวงนรินทรเทวีความว่า ''"[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกทรงมี] พระโองการให้ขุดคลองรอบเกาะ ให้บ่ายเรือพระที่นั่งได้ เรียกว่าคลองมหานาค"''<ref name= "เอนก"/> ส่วน[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงอธิบายเพิ่มเติมอีกว่า ''"คือมีเกาะในระหว่างโรงเรือกับวัดด้านหนึ่ง เกาะด้านตะวันออกที่เรียกว่าเกาะยายชีด้านหนึ่ง…"''<ref name= "เอนก"/> ในอดีตเมื่อถึงงานประเพณีนมัสการภูเขาทอง ก็จะมีการจัดงานรื่นเริง เช่น การแข่งเรือ ร้องเพลงเรือ เล่นดอกสร้อยสักวา จุดดอกไม้ไฟทั้งบนบกและในน้ำ โดยมีเกาะยายชีเป็นศูนย์กลางผู้คนที่เข้ามาร่วมชมการละเล่น<ref>[[สุจิตต์ วงษ์เทศ]]. ''กรุงเทพฯ มาจากไหน ?''. กรุงเทพฯ : มติชน, 2548, หน้า 163</ref> และยังปรากฏใน ''[[นิราศบรมบรรพต]]'' ของพระพินิจหัตถการ (ชื่น สาริกบุตร) ว่า<ref name= "เอนก"/>


บรรทัด 22: บรรทัด 22:
เอนกสันนิษฐานจากการเปรียบเทียบภาพถ่ายเก่า พบว่าเกาะแห่งแรกอยู่บริเวณเชิง[[สะพานมหาดไทยอุทิศ]] เกาะแห่งที่สองอยู่ตรงข้ามตึกการบินไทย ส่วนเกาะอีกเกาะหนึ่งเรียกว่าเกาะยายชีอยู่บริเวณ[[สะพานนริศดำรัส]] ส่วนเกาะทั้งสามหายไปในช่วงรัชกาล[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ถึง[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] แต่เกาะหายไปได้อย่างไรไม่เป็นที่ปรากฏ<ref name= "เอนก"/>
เอนกสันนิษฐานจากการเปรียบเทียบภาพถ่ายเก่า พบว่าเกาะแห่งแรกอยู่บริเวณเชิง[[สะพานมหาดไทยอุทิศ]] เกาะแห่งที่สองอยู่ตรงข้ามตึกการบินไทย ส่วนเกาะอีกเกาะหนึ่งเรียกว่าเกาะยายชีอยู่บริเวณ[[สะพานนริศดำรัส]] ส่วนเกาะทั้งสามหายไปในช่วงรัชกาล[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ถึง[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] แต่เกาะหายไปได้อย่างไรไม่เป็นที่ปรากฏ<ref name= "เอนก"/>


== แหล่งอ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง|2}}
{{รายการอ้างอิง|2}}



รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:09, 28 กรกฎาคม 2560

ไฟล์:KlongMahanak.JPG
คลองมหานาค สมัยรัชกาลที่ 4

คลองมหานาค เป็นคลองขุดสายหนึ่งในกรุงเทพมหานครที่แยกมาจากคลองรอบกรุง ในอดีตใช้เป็นสถานที่สำหรับให้ชาวพระนครมาเล่นเพลงสักวากันในช่วงน้ำหลาก ต่อมาได้มีการขุดคลองเพื่อเชื่อมต่อกับเครือข่ายคลองสายอื่นสำหรับขนส่งกำลังพลและเสบียงช่วงอานัมสยามยุทธ

ประวัติ

คลองมหานาคเป็นคลองขุดที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกโปรดเกล้าฯ ให้ขุดคลองสองสายในปี พ.ศ. 2326[1] บ้างก็ว่าในปี 2328[2] ได้แก่คลองรอบกรุงที่สำหรับใช้เป็นแนวป้องกันของเมือง กับอีกคลองหนึ่งที่พระราชทานนามว่าคลองมหานาค ตามอย่างคลองมหานาควัดภูเขาทองในกรุงเก่า[3] สำหรับให้ชาวพระนครเล่นเพลงสักวาดั่งกรุงเก่า โดยขุดคลองแยกจากคลองรอบกรุงบริเวณป้อมมหากาฬ (ปัจจุบันคือเชิงสะพานผ่านฟ้าลีลาศ) ส่วนปลายคลองนั้นอยู่บริเวณวัดพระยายังต่อคลองบางกะปิ[1] การขุดคลองปรากฏในพระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขาดังนี้[4]

"แล้วเกณฑ์เลกลาวเขมรหัวเมืองให้ขุดคลองคูพระนครด้านตะวันออก ตั้งแต่วัดเชิงเลนขึ้นมาถึงวัดสะแกไปถึงวัดบางลำภู ออกบรรจบแม่น้ำทั้งสองข้าง และวัดสะแกนั้นพระราชทานนามใหม่ว่าวัดสระเกศ [...] แล้วให้ขุดคลองใหญ่เหนือวัดสระเกศ พระราชทานนามว่าคลองมหานาค ไว้เป็นที่สำหรับประชาชนชาวพระนครลงเรือไปประชุมกันเล่นเพลงเล่นสักวาเทศกาลน้ำเหมือนครั้งกรุงเก่า"

ซึ่งปัจจุบันลูกหลานของชาวเขมรและลาวที่ถูกเกณฑ์มาขุดคลองเหล่านี้ ก็ได้รับโปรดเกล้าให้ตั้งถิ่นฐานบริเวณสองฝั่งคลองหนึ่งในนั้นคือชุมชนบ้านครัว ซึ่งเป็นมุสลิมเชื้อสายจามจากกัมพูชาที่ถูกกวาดต้อนมายกครัว จึงเรียกว่าบ้านครัว และยังมีลูกหลานตั้งถิ่นฐานอาศัยอยู่จนถึงปัจจุบัน[5][6]

ครั้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้ขุดคลองแสนแสบต่อคลองมหานาคบริเวณวัดบรมนิวาสออกไปทางบางกะปิทะลุออกเมืองฉะเชิงเทราสำหรับขนส่งกำลังคนและเสบียงในช่วงอานัมสยามยุทธ[6] และในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงโปรดเกล้าให้ขุดมาบรรจบกับคลองผดุงกรุงเกษม[2] นอกจากนี้ยังมีคลองจุลนาคที่ขุดเชื่อมคลองมหานาคกับคลองเปรมประชากรด้วย ทำให้ผู้คนสัญจรทางน้ำได้อย่างสะดวก

ปัจจุบันคลองมหานาคช่วงต่อกับคลองแสนแสบนั้นประสบปัญหาภาวะน้ำเน่าเสีย มีกลิ่นเหม็นแรงเนื่องจากขยะที่ทิ้งไม่เป็นที่เป็นทางจากชุมชนแออัดที่เรียงรายโดยรอบ[7]

เกาะในคลองมหานาค

จากการศึกษาของเอนก นาวิกมูลพบว่าคลองมหานาคเคยมีเกาะขนาดน้อยอยู่สามเกาะ มีปรากฏครั้งแรกในจดหมายเหตุความทรงจำของกรมหลวงนรินทรเทวีความว่า "[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกทรงมี] พระโองการให้ขุดคลองรอบเกาะ ให้บ่ายเรือพระที่นั่งได้ เรียกว่าคลองมหานาค"[1] ส่วนพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงอธิบายเพิ่มเติมอีกว่า "คือมีเกาะในระหว่างโรงเรือกับวัดด้านหนึ่ง เกาะด้านตะวันออกที่เรียกว่าเกาะยายชีด้านหนึ่ง…"[1] ในอดีตเมื่อถึงงานประเพณีนมัสการภูเขาทอง ก็จะมีการจัดงานรื่นเริง เช่น การแข่งเรือ ร้องเพลงเรือ เล่นดอกสร้อยสักวา จุดดอกไม้ไฟทั้งบนบกและในน้ำ โดยมีเกาะยายชีเป็นศูนย์กลางผู้คนที่เข้ามาร่วมชมการละเล่น[8] และยังปรากฏใน นิราศบรมบรรพต ของพระพินิจหัตถการ (ชื่น สาริกบุตร) ว่า[1]

มีเกาะอยู่กลางน้ำถึงสามเกาะ ก็ดูเหมาะความสนุกเปนสุขขา
ยังมิได้จัดทำปรำปรา เดี๋ยวนี้มาจัดระเบียบจึงเรียบดี

เอนกสันนิษฐานจากการเปรียบเทียบภาพถ่ายเก่า พบว่าเกาะแห่งแรกอยู่บริเวณเชิงสะพานมหาดไทยอุทิศ เกาะแห่งที่สองอยู่ตรงข้ามตึกการบินไทย ส่วนเกาะอีกเกาะหนึ่งเรียกว่าเกาะยายชีอยู่บริเวณสะพานนริศดำรัส ส่วนเกาะทั้งสามหายไปในช่วงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวถึงพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว แต่เกาะหายไปได้อย่างไรไม่เป็นที่ปรากฏ[1]

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 เอนก นาวิกมูล (8 มีนาคม 2560). "เกาะในคลองมหานาค หน้าวัดสระเกศ ถ่ายก่อน พ.ศ. ๒๔๓๓". ศิลปวัฒนธรรม. สืบค้นเมื่อ 10 มีนาคม 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  2. 2.0 2.1 "คลองขุดในประเทศไทย". สารานุกรมไทยฉบับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. สืบค้นเมื่อ 10 มีนาคม 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  3. สุจิตต์ วงษ์เทศ (25 กุมภาพันธ์ 2560). "มหานาค (วัดภูเขาทอง อยุธยา) สึกจากพระไปอาสาสู้ศึกหงสาวดี". มติชนออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 10 มีนาคม 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  4. สุจิตต์ วงษ์เทศ (10 กันยายน 2559). "ลาวกับเขมร ขุดคลองมหานาค ใกล้ป้อมมหากาฬ กรุงเทพฯ". มติชนออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 10 มีนาคม 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  5. สุจิตต์ วงษ์เทศ. กรุงเทพฯ มาจากไหน?. กรุงเทพฯ : มติชน, 2548, หน้า 115-116
  6. 6.0 6.1 ปราณี กล่ำส้ม. ย่านเก่าในกรุงเทพฯ [เล่ม ๑]. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ. 2549, หน้า 233-234
  7. "นี่หรือนครแห่งการท่องเที่ยว อเมซิ่งกรุงเทพฯ คนมักง่ายกับเมืองน้ำเน่า!". ไทยรัฐออนไลน์. 2 กุมภาพันธ์ 2559. สืบค้นเมื่อ 10 มีนาคม 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  8. สุจิตต์ วงษ์เทศ. กรุงเทพฯ มาจากไหน ?. กรุงเทพฯ : มติชน, 2548, หน้า 163