ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จารกรรม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pi@k (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3: บรรทัด 3:
เรื่องราวเกี่ยวกับจารกรรมปรากฏในประวัติศาสตร์ตลอดมา [[ซุนวู]]กล่าวถึงการหลอกลวงและ[[การบ่อนทำลาย]] [[อียิปต์โบราณ]]พัฒนาระบบของการได้มาซึ่งข่าวกรอง โดยชาว[[ฮิบรู]]ก็ใช้ระบบนี้
เรื่องราวเกี่ยวกับจารกรรมปรากฏในประวัติศาสตร์ตลอดมา [[ซุนวู]]กล่าวถึงการหลอกลวงและ[[การบ่อนทำลาย]] [[อียิปต์โบราณ]]พัฒนาระบบของการได้มาซึ่งข่าวกรอง โดยชาว[[ฮิบรู]]ก็ใช้ระบบนี้


โดยทั่วไป จารกรรมที่กระทำโดยพลเมืองของประเทศเป้าหมาย ถือเป็นรูปแบบหนึ่งของ[[การกบฏ]] หลายประเทศถือว่าจารกรรมเป็นความผิดอาญา ต้องได้รับโทษประหารชีวิตหรือจำคุกตลอดชีวิต ตัวอย่างเช่น [[สหรัฐอเมริกา]]กำหนดให้จารกรรมเป็นความผิดอาญาขั้นอุกฤษฏ์โทษ อย่างไรก็ตาม ผู้ต้องหามักได้รับข้อเสนอลดหย่อนโทษโดยแลกกับข้อมูลข่าวสาร
โดยทั่วไป จารกรรมที่กระทำโดยพลเมืองของประเทศเป้าหมาย ถือเป็นรูปแบบหนึ่งของ[[กบฏ|การกบฏ]] หลายประเทศถือว่าจารกรรมเป็นความผิดอาญา ต้องได้รับโทษประหารชีวิตหรือจำคุกตลอดชีวิต ตัวอย่างเช่น [[สหรัฐอเมริกา]]กำหนดให้จารกรรมเป็นความผิดอาญาขั้นอุกฤษฏ์โทษ อย่างไรก็ตาม ผู้ต้องหามักได้รับข้อเสนอลดหย่อนโทษโดยแลกกับข้อมูลข่าวสาร


ใน[[สหราชอาณาจักร]] จารชนต่างชาติจะได้รับโทษจำคุกไม่เกิน 14 ปี ภายใต้ [[พระราชบัญญัติความลับของทางราชการ]] ขณะที่จารชนชาวอังกฤษที่เป็นสายลับให้ต่างชาติ และพิสูจน์ได้ว่าช่วยเหลือศัตรู จะถูกพิพากษาในข้อหา[[การกบฏ]] รับโทษสูงสุดจำคุกตลอดชีวิต นอกจากนี้ จารชนที่ทำงานให้[[ผู้ก่อการร้าย]]ยังถือว่ากระทำผิด[[พระราชบัญญัติการก่อการร้าย ค.ศ. 2000]]
ใน[[สหราชอาณาจักร]] จารชนต่างชาติจะได้รับโทษจำคุกไม่เกิน 14 ปี ภายใต้ [[พระราชบัญญัติความลับของทางราชการ]] ขณะที่จารชนชาวอังกฤษที่เป็นสายลับให้ต่างชาติ และพิสูจน์ได้ว่าช่วยเหลือศัตรู จะถูกพิพากษาในข้อหาการกบฏ รับโทษสูงสุดจำคุกตลอดชีวิต นอกจากนี้ จารชนที่ทำงานให้[[ผู้ก่อการร้าย]]ยังถือว่ากระทำผิด[[พระราชบัญญัติการก่อการร้าย ค.ศ. 2000]]


ในระหว่าง[[สงครามเย็น]] มีความเคลื่อนไหวที่เกี่ยวข้องกับ[[จารกรรมในสงครามเย็น|จารกรรม]]บ่อยครั้ง ส่วนใหญ่เกี่ยวพันกับความลับด้าน[[อาวุธนิวเคลียร์]] ปัจจุบันใช้สายลับกับ[[การค้ายาเสพติดโดยผิดกฎหมาย]]และ[[การก่อการร้าย]]
ในระหว่าง[[สงครามเย็น]] มีความเคลื่อนไหวที่เกี่ยวข้องกับ[[จารกรรมในสงครามเย็น|จารกรรม]]บ่อยครั้ง ส่วนใหญ่เกี่ยวพันกับความลับด้าน[[อาวุธนิวเคลียร์]] ปัจจุบันใช้สายลับกับ[[การค้ายาเสพติดโดยผิดกฎหมาย]]และ[[การก่อการร้าย]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 07:54, 25 ตุลาคม 2548

จารกรรม (Espionage) คือ การล้วงความลับจากคู่แข่งหรือศัตรูเพื่อความได้เปรียบทางการทหาร, การเมือง หรือเศรษฐกิจ จารชน คือ บุคคลที่รัฐส่งไปล้วงความลับจากศัตรูหรือฝ่ายที่มีแนวโน้มว่าจะเป็นศัตรู โดยเฉพาะอย่างยิ่งความลับทางการทหาร แต่อาจรวมถึงการล้วงความลับจากต่างบริษัท เรียกว่า จารกรรมทางอุตสาหกรรม หลายประเทศส่งสายลับเข้าไปในประเทศอื่นทั้งประเทศที่เป็นมิตรและศัตรู แม้ว่าจะไม่เป็นที่เปิดเผย

เรื่องราวเกี่ยวกับจารกรรมปรากฏในประวัติศาสตร์ตลอดมา ซุนวูกล่าวถึงการหลอกลวงและการบ่อนทำลาย อียิปต์โบราณพัฒนาระบบของการได้มาซึ่งข่าวกรอง โดยชาวฮิบรูก็ใช้ระบบนี้

โดยทั่วไป จารกรรมที่กระทำโดยพลเมืองของประเทศเป้าหมาย ถือเป็นรูปแบบหนึ่งของการกบฏ หลายประเทศถือว่าจารกรรมเป็นความผิดอาญา ต้องได้รับโทษประหารชีวิตหรือจำคุกตลอดชีวิต ตัวอย่างเช่น สหรัฐอเมริกากำหนดให้จารกรรมเป็นความผิดอาญาขั้นอุกฤษฏ์โทษ อย่างไรก็ตาม ผู้ต้องหามักได้รับข้อเสนอลดหย่อนโทษโดยแลกกับข้อมูลข่าวสาร

ในสหราชอาณาจักร จารชนต่างชาติจะได้รับโทษจำคุกไม่เกิน 14 ปี ภายใต้ พระราชบัญญัติความลับของทางราชการ ขณะที่จารชนชาวอังกฤษที่เป็นสายลับให้ต่างชาติ และพิสูจน์ได้ว่าช่วยเหลือศัตรู จะถูกพิพากษาในข้อหาการกบฏ รับโทษสูงสุดจำคุกตลอดชีวิต นอกจากนี้ จารชนที่ทำงานให้ผู้ก่อการร้ายยังถือว่ากระทำผิดพระราชบัญญัติการก่อการร้าย ค.ศ. 2000

ในระหว่างสงครามเย็น มีความเคลื่อนไหวที่เกี่ยวข้องกับจารกรรมบ่อยครั้ง ส่วนใหญ่เกี่ยวพันกับความลับด้านอาวุธนิวเคลียร์ ปัจจุบันใช้สายลับกับการค้ายาเสพติดโดยผิดกฎหมายและการก่อการร้าย

จารกรรมที่ปรากฏในบันเทิงคดี

เนื่องจากชีวิตจริงของจารชนไม่เป็นที่เปิดเผยมากนัก เราจึงรู้จักบุคลิกของจารชนจากวรรณกรรมและภาพยนตร์ในคริสต์ศตวรรษที่ 20-21 ซึ่งส่วนใหญ่ใช้ชีวิตสันโดษ บางครั้งไม่ยึดในกฎเกณฑ์ เป็นวีรบุรุษที่มีแนวคิดอัตถิภาวนิยม เจมส์ บอนด์ ตัวละครเอกในนวนิยายของ เอียน เฟลมิง อาจถือได้ว่าเป็นจารชนที่มีชื่อเสียงที่สุดในโลกของบันเทิงคดี