ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประสิทธิ์ ไชยศรีษะ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขของ 223.204.143.64 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย มังกรคาบแก้ว
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 19: บรรทัด 19:
| footnotes =
| footnotes =
}}
}}

'''จ่าสิบตำรวจ ประสิทธิ์ ไชยศีรษะ''' เป็น[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุรินทร์]] สังกัด[[พรรคเพื่อไทย]] เป็นแกนนำ[[แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ]] (นปช.) จังหวัดสมุทรสาคร
'''จ่าสิบตำรวจ ประสิทธิ์ ไชยศีรษะ''' เป็น[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุรินทร์]] สังกัด[[พรรคเพื่อไทย]] เป็นแกนนำ[[แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ]] (นปช.) จังหวัดสมุทรสาคร


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
จ.ส.ต.ประสิทธิ์ ไชยศีรษะ เกิดเมื่อวันที่ [[2 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2508]] ที่จังหวัดสุรินทร์ สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย <ref>[https://www.facebook.com/You.Unacceptable/photos/a.609812802370245.1073741828.593891430629049/738986039452920/?type=1&permPage=1</ref>
จ.ส.ต.ประสิทธิ์ ไชยศีรษะ เกิดเมื่อวันที่ [[2 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2508]] ที่จังหวัดสุรินทร์ สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย<ref>[https://www.facebook.com/You.Unacceptable/photos/a.609812802370245.1073741828.593891430629049/738986039452920/?type=1&permPage=1</ref> สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีจากวิทยาลัยครุศาสตร์ [[มหาวิทยาลัยอิลลินอยส์ เออร์แบนา-แชมเปญจน์]] ประเทศสหรัฐอเมริกา, สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทจาก[[คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์]] และสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกจากวิทยาลัยรัฐศาสตร์ [[มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน แมดิสัน]] ประเทศสหรัฐอเมริกา


== การทำงาน ==
== การทำงาน ==
จ.ส.ต.ประสิทธิ์ ไชยศีรษะ เข้ารับราชการตำรวจโดยมีตำแหน่งเป็นผู้บังคับหมู่ฝ่ายอำนวยการ กองบังคับการตำรวจภูธรจังหวัดสมุทรสาคร และมีบทบาทเป็นแกนนำแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) จังหวัดสมุทรสาคร ต่อมาใน[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554]] เขาได้ลงสมัครรับเลือกตั้งในพื้นที่จังหวัดสุรินทร์ ซึ่งเป็นบ้านเกิด โดยแข่งขันกับอดีต ส.ส.พื้นที่เดิม คือ นาง[[ฟาริดา สุไลมาน]] จากพรรคภูมิใจไทย และนาย[[ธีรทัศน์ เตียวเจริญโสภา]] จากพรรคชาติไทยพัฒนา แต่เขาก็สามารถเอาชนะและได้รับเลือกตั้งเป็น ส.ส.สมัยแรกได้สำเร็จ
จ.ส.ต.ประสิทธิ์ ไชยศีรษะ เข้ารับราชการตำรวจโดยมีตำแหน่งเป็นผู้บังคับหมู่ฝ่ายอำนวยการ กองบังคับการตำรวจภูธรจังหวัดสมุทรสาคร และมีบทบาทเป็นแกนนำแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) จังหวัดสมุทรสาคร ต่อมาใน[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554]] เขาได้ลงสมัครรับเลือกตั้งในพื้นที่จังหวัดสุรินทร์ ซึ่งเป็นบ้านเกิด โดยแข่งขันกับอดีต ส.ส.พื้นที่เดิม คือ นาง[[ฟาริดา สุไลมาน]] จากพรรคภูมิใจไทย และนายธีรทัศน์ เตียวเจริญโสภา จากพรรคชาติไทยพัฒนา แต่เขาก็สามารถเอาชนะและได้รับเลือกตั้งเป็น ส.ส.สมัยแรกได้สำเร็จ


ในสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24 เขาได้ทำหน้าที่เป็นกรรมาธิการตำรวจ และมีบทบาทในการตอบโต้กับสมาชิกพรรคประชาธิปัตย์ ในการอภิปรายในสภาบ่อยครั้ง โดยเฉพาะกับกรณีของนางสาว[[รังสิมา รอดรัศมี]] ส.ส.สมุทรสาคร<ref>[http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1354002014&grpid=00&catid=01 ประท้วงยับ "จ่าประสิทธิ์" พูดกลางสภา ฝันว่าได้นอนกับ ส.ส.รังสิมา]</ref> รวมถึงกรณีกล่าวถึง[[มหาวิทยาลัยรามคำแหง]] ส่งผลให้เกิดความไม่พอใจโดยเฉพาะจากสมาคมศิษย์เก่ารามคำแหง<ref>[http://www.manager.co.th/politics/viewnews.aspx?NewsID=9550000063574 “ศิษย์เก่ารามฯ” สุดทน “จ่าประสิทธิ์” ดูถูกโง่กลางสภา จี้ขอขมาองค์พ่อขุนฯ]</ref>
ในสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24 เขาได้ทำหน้าที่เป็นกรรมาธิการตำรวจ และมีบทบาทในการตอบโต้กับสมาชิกพรรคประชาธิปัตย์ ในการอภิปรายในสภาบ่อยครั้ง โดยเฉพาะกับกรณีของนางสาว[[รังสิมา รอดรัศมี]] ส.ส.สมุทรสาคร<ref>[http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1354002014&grpid=00&catid=01 ประท้วงยับ "จ่าประสิทธิ์" พูดกลางสภา ฝันว่าได้นอนกับ ส.ส.รังสิมา]</ref> รวมถึงกรณีกล่าวถึง[[มหาวิทยาลัยรามคำแหง]] ส่งผลให้เกิดความไม่พอใจโดยเฉพาะจากสมาคมศิษย์เก่ารามคำแหง<ref>[http://www.manager.co.th/politics/viewnews.aspx?NewsID=9550000063574 “ศิษย์เก่ารามฯ” สุดทน “จ่าประสิทธิ์” ดูถูกโง่กลางสภา จี้ขอขมาองค์พ่อขุนฯ]</ref>
บรรทัด 36: บรรทัด 35:
== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==
== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==
* [[พ.ศ. 2555]] - [[ไฟล์:Order of the Crown of Thailand - 1st Class (Thailand) ribbon.png|80px]] [[เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย]] ชั้น[[ประถมาภรณ์มงกุฏไทย]] (ป.ม.)<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2555/B/035/1.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ประจำปี ๒๕๕๕, เล่ม ๑๒๙, ตอน ๓๕ ข , ๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕]</ref>
* [[พ.ศ. 2555]] - [[ไฟล์:Order of the Crown of Thailand - 1st Class (Thailand) ribbon.png|80px]] [[เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย]] ชั้น[[ประถมาภรณ์มงกุฏไทย]] (ป.ม.)<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2555/B/035/1.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ประจำปี ๒๕๕๕, เล่ม ๑๒๙, ตอน ๓๕ ข , ๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕]</ref>
* [[พ.ศ. 2557]] - [[ไฟล์:Order of the White Elephant - 1st Class (Thailand) ribbon.png|80px]] เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้น[[ประถมาภรณ์ช้างเผือก]] (ป.ช.)


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:05, 9 ธันวาคม 2557

จ.ส.ต.ประสิทธิ์ ไชยศีรษะ
ไฟล์:ประสิทธิ์ ไชยศีรษะ.jpg
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด2 มีนาคม พ.ศ. 2508 (59 ปี)
จังหวัดสุรินทร์
ศาสนาพุทธ
พรรคการเมืองเพื่อไทย

จ่าสิบตำรวจ ประสิทธิ์ ไชยศีรษะ เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุรินทร์ สังกัดพรรคเพื่อไทย เป็นแกนนำแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) จังหวัดสมุทรสาคร

ประวัติ

จ.ส.ต.ประสิทธิ์ ไชยศีรษะ เกิดเมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2508 ที่จังหวัดสุรินทร์ สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย[1] สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีจากวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยอิลลินอยส์ เออร์แบนา-แชมเปญจน์ ประเทศสหรัฐอเมริกา, สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทจากคณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ และสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกจากวิทยาลัยรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน แมดิสัน ประเทศสหรัฐอเมริกา

การทำงาน

จ.ส.ต.ประสิทธิ์ ไชยศีรษะ เข้ารับราชการตำรวจโดยมีตำแหน่งเป็นผู้บังคับหมู่ฝ่ายอำนวยการ กองบังคับการตำรวจภูธรจังหวัดสมุทรสาคร และมีบทบาทเป็นแกนนำแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) จังหวัดสมุทรสาคร ต่อมาในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 เขาได้ลงสมัครรับเลือกตั้งในพื้นที่จังหวัดสุรินทร์ ซึ่งเป็นบ้านเกิด โดยแข่งขันกับอดีต ส.ส.พื้นที่เดิม คือ นางฟาริดา สุไลมาน จากพรรคภูมิใจไทย และนายธีรทัศน์ เตียวเจริญโสภา จากพรรคชาติไทยพัฒนา แต่เขาก็สามารถเอาชนะและได้รับเลือกตั้งเป็น ส.ส.สมัยแรกได้สำเร็จ

ในสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24 เขาได้ทำหน้าที่เป็นกรรมาธิการตำรวจ และมีบทบาทในการตอบโต้กับสมาชิกพรรคประชาธิปัตย์ ในการอภิปรายในสภาบ่อยครั้ง โดยเฉพาะกับกรณีของนางสาวรังสิมา รอดรัศมี ส.ส.สมุทรสาคร[2] รวมถึงกรณีกล่าวถึงมหาวิทยาลัยรามคำแหง ส่งผลให้เกิดความไม่พอใจโดยเฉพาะจากสมาคมศิษย์เก่ารามคำแหง[3]

เมื่อวันที่ 7 ส.ค. 2556 ระหว่างการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ที่มีวาระการพิจารณา ร่างพ.ร.บ.นิรโทษกรรม จ่าประสิทธิ์ได้ยกรองเท้าของตนเองมาไว้บนใบหน้าเพื่อยั่วยุเพื่อแสดงการตอบโต้กับสมาชิกพรรคประชาธิปัตย์[4]

วันที่ 29 ต.ค. 2556 ที่พรรคเพื่อไทย จ่าประสิทธิ์ได้ขึ้นปราศรัยบนรถกระบะติดเครื่องขยายเสียงมาชุมนุมบริเวณด้านหน้าพรรคของกลุ่มแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) เพื่อปราศรัยสนับสนุนให้ ส.ส. พรรคเพื่อไทยสนับสนุนร่าง พ.ร.บ.นิรโทษกรรมฉบับสุดซอย ระหว่างนั้นได้มีคำพูดว่า “ผมอยากยิงแม่งในสภาให้ตายห่าไปเลยด้วยซ้ำ แต่เอาทักษิณกลับมาสะใจกว่า ทำให้เหมือนตายทั้งเป็น ยิ่งกว่าติดคุก"[5] ซึ่งคำกล่าวของเขาที่เป็นไปในลักษณะการชี้แจงขั้นตอนของร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวในทางที่ไม่เหมาะสม ส่งผลให้เกิดความไม่พอใจในพรรคเพื่อไทย กระทั่งในการประชุมพรรคเพื่อไทย เขาได้กล่าวขอโทษต่อนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ถึงกรณีดังกล่าว[6]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

อ้างอิง