ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชาวไทพวน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
TRUS (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2: บรรทัด 2:


==ประวัติ==
==ประวัติ==
ชาวไทพวน เดิมเป็นปะชากรของ[[เมืองพวน]] ซึ่งอยู่ทางเหนือของ[[แขวงเชียงขวาง]]ของ [[ประเทศลาว]] ก่อนจะอพยพเข้ามาสู่ประเทศสยามหลายช่วงในประวัติศาสตร์ ซึ่งอพยพเข้ามามากที่สุดครั้ง[[สงครามปราบฮ่อ]] รัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
ชาวไทพวน เดิมเป็นประชากรของ[[เมืองพวน]] ซึ่งอยู่ทางเหนือของ[[แขวงเชียงขวาง]]ของ [[ประเทศลาว]] ก่อนจะอพยพเข้ามาสู่ประเทศสยามหลายช่วงในประวัติศาสตร์ ซึ่งอพยพเข้ามามากที่สุดครั้ง[[สงครามปราบฮ่อ]] รัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]


== วิถีชีวิต ==
== วิถีชีวิต ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:58, 30 เมษายน 2556

ชาวไทพวน หรือ ชาวลาวพวน เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ไท ใช้ภาษาพวน ซึ่งเป็นตระกูลภาษาไท-กะได อาศัยอยู่ในหลายจังหวัดของประเทศไทย เดิมอาศัยอยู่ในประเทศลาว

ประวัติ

ชาวไทพวน เดิมเป็นประชากรของเมืองพวน ซึ่งอยู่ทางเหนือของแขวงเชียงขวางของ ประเทศลาว ก่อนจะอพยพเข้ามาสู่ประเทศสยามหลายช่วงในประวัติศาสตร์ ซึ่งอพยพเข้ามามากที่สุดครั้งสงครามปราบฮ่อ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

วิถีชีวิต

ชาวไทพวน หรือลาวพวน ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตกรรม เมื่อว่างจากการทำนาก็จะประกอบอาชีพเกษตรกรรม ผู้ชายจะสานกระบุง ตะกร้า และเครื่องมือหาปลา ส่วนผู้หญิงจะทอผ้า ที่มีชื่อเสียงคือ "ผ้ามัดหมี่ลพบุรี" อาหารที่ชาวไทพวนนิยม คือ ปลาร้า นิยมทานขนมจีนและข้าวหลามในงานบุญ ส่วนอาหารอื่น ๆ จะประกอบขึ้นจากวัตถุดิบในท้องถิ่น

ชาวไทพวนมีความเชื่อเรื่องผี มีศาลประจำหมู่บ้านเรียกว่า ศาลตาปู่ หรือศาลเจ้าปู่บ้าน รวมทั้งการละเล่นก็มีผีนางด้ง ผีนางกวัก มีประเพณีใส่กระจาด ประเพณีกำฟ้า เป็นประเพณีเอกลักษณ์ ซึ่งเป็นการสักการะต่อธรรมชาติและผี

ภาษาของชาวไทพวนมีสำเนียงคล้ายภาษาถิ่นเหนือ คงเหลือแต่เพียงภาษาพูด ภาษาเขียนแทบจะไม่มีคนเขียนได้แล้ว

ถิ่นอาศัยในประเทศไทย

  1. สุโขทัย
  2. สระบุรี
  3. นครนายก
  4. ปราจีนบุรี
  5. ฉะเชิงเทรา
  6. ลพบุรี
  7. ราชบุรี
  8. เพชรบุรี
  9. แพร่
  10. สิงห์บุรี (หมู่ที่ 3 ต.บางน้ำเชี่ยว อ.พรหมบุรี)
  11. พิจิตร (บ้านป่าแดง อ.ตะพานหิน)
  12. สุพรรณบุรี (บ้านดอนหนามแดง , บ้านไผ่เดี่ยว , รางบัว ต.วัดโบสถ์ อ.บางปลาม้า จ.สุพรรณบุรี)

อ้างอิง

สิงห์บุรี อ.พรหมบุรี ต.บางน้ำเชี่ยว หมู่ 5 โภคาภิวัฒน์