ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หอดูดาวท้องฟ้าซีกใต้แห่งยุโรป"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.2+) (โรบอต: แก้ไขจาก ca:European Southern Observatory ไปเป็น ca:Observatori Europeu del Sud
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
บรรทัด 80: บรรทัด 80:
[[หมวดหมู่:องค์การอวกาศยุโรป]]
[[หมวดหมู่:องค์การอวกาศยุโรป]]


[[ar:المرصد الأوروبي الجنوبي]]
[[be:Еўрапейская Паўднёвая абсерваторыя]]
[[bg:Европейска южна обсерватория]]
[[ca:Observatori Europeu del Sud]]
[[cs:Evropská jižní observatoř]]
[[da:ESO]]
[[de:Europäische Südsternwarte]]
[[el:Ευρωπαϊκό Νότιο Αστεροσκοπείο]]
[[en:European Southern Observatory]]
[[eo:Eŭropa suda observatorio]]
[[es:Observatorio Europeo del Sur]]
[[fa:رصدخانه جنوبی اروپا]]
[[fi:Euroopan eteläinen observatorio]]
[[fr:Observatoire européen austral]]
[[gl:Observatorio austral europeo]]
[[hr:Europski južni opservatorij]]
[[hu:European Southern Observatory]]
[[id:Observatorium Selatan Eropa]]
[[is:Stjörnustöð Evrópulanda á suðurhveli]]
[[it:European Southern Observatory]]
[[ja:ヨーロッパ南天天文台]]
[[ko:유럽 남방 천문대]]
[[lb:European Southern Observatory]]
[[nl:Europese Zuidelijke Sterrenwacht]]
[[nn:Det europeiske sørobservatoriet]]
[[no:Det europeiske sørobservatorium]]
[[pl:Europejskie Obserwatorium Południowe]]
[[pt:Observatório Europeu do Sul]]
[[ro:Observatorul European de Sud]]
[[ro:Observatorul European de Sud]]
[[ru:Европейская южная обсерватория]]
[[simple:European Southern Observatory]]
[[sk:Európske južné observatórium]]
[[sr:Европска јужна опсерваторија]]
[[sv:Europeiska sydobservatoriet]]
[[tr:Avrupa Güney Gözlemevi]]
[[uk:Європейська південна обсерваторія]]
[[vi:Tổ chức Nghiên cứu vũ trụ châu Âu tại bán cầu Nam]]
[[zh:欧洲南方天文台]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:04, 10 มีนาคม 2556

หอดูดาวท้องฟ้าซีกใต้แห่งยุโรป (อังกฤษ: European Southern Observatory; ESO) มีชื่อเต็มอย่างเป็นทางการว่า European Organization for Astronomical Research in the Southern Hemisphere หรือ องค์การแห่งยุโรปเพื่อการวิจัยทางดาราศาสตร์ในท้องฟ้าซีกใต้ เป็นองค์กรวิจัยนานาชาติสำหรับการศึกษาด้านดาราศาสตร์ ภายใต้การสนับสนุนของประเทศต่างๆ ในทวีปยุโรป 14 ประเทศ ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1962 มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่เมืองมิวนิก ประเทศเยอรมัน ส่วนอุปกรณ์สังเกตการณ์เกือบทั้งหมดตั้งอยู่ที่ประเทศชิลี โดยใช้อุปกรณ์และเทคโนโลยีที่ทันสมัยเพื่อให้นักดาราศาสตร์จากยุโรปสามารถศึกษาท้องฟ้าซีกใต้ได้ มีชื่อเสียงจากกล้องโทรทรรศน์ที่ใหญ่ที่สุดและก้าวหน้ามากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก เช่น กล้องโทรทรรศน์นิวเทคโนโลยี (New Technology Telescope; NTT) ซึ่งเป็นกล้องรุ่นแรกที่บุกเบิกเทคโนโลยี active optics และกล้องโทรทรรศน์ VLT (Very Large Telescope) ประกอบด้วยกล้องโทรทรรศน์ขนาด 8 เมตรจำนวน 4 ชุด และกล้องประกอบขนาด 1.8 เมตรอีกจำนวน 4 ชุด

อุปกรณ์ทันสมัยจำนวนมากที่หอดูดาวแห่งนี้ได้ช่วยเหลือการค้นพบทางดาราศาสตร์ครั้งสำคัญๆ หลายครั้ง และช่วยสร้างรายการวัตถุทางดาราศาสตร์จำนวนมาก การค้นพบเมื่อไม่นานมานี้รวมถึงการค้นพบ แสงวาบรังสีแกมมาที่อยู่ไกลที่สุด และการค้นพบหลักฐานการมีอยู่ของหลุมดำที่บริเวณใจกลางทางช้างเผือกของเรา ในปี ค.ศ. 2004 กล้องโทรทรรศน์ VLT ได้ช่วยให้นักดาราศาสตร์จับภาพถ่ายแรกของดาวเคราะห์นอกระบบ 2M1207b ที่โคจรรอบดาวแคระน้ำตาลดวงหนึ่งซึ่งอยู่ห่างออกไป 173 ปีแสง นอกจากนี้อุปกรณ์ HARPS ยังได้ช่วยเหลือการค้นพบดาวเคราะห์นอกระบบอีกเป็นจำนวนมาก รวมถึงการค้นพบ กลีส 581 ซี ซึ่งโคจรรอบดาวแคระแดง กล้องโทรทรรศน์ VLT ยังช่วยในการค้นพบดาราจักรที่ไกลที่สุดเท่าที่มนุษย์เคยรู้จัก คือ Abell 1835 IR1916

อุปกรณ์สังเกตการณ์

อุปกรณ์สังเกตการณ์เกือบทั้งหมดของ ESO ตั้งอยู่ที่ประเทศชิลี เนื่องจากต้องการมองเห็นท้องฟ้าซีกใต้อย่างชัดเจน โดยตั้งอยู่ในทะเลทราย Atacama อันเป็นหนึ่งในสถานที่ที่แห้งแล้งที่สุดบนโลก มีหอดูดาวทั้งสิ้น 3 แห่งคือ ที่ลาซีญา (La Silla) พารานัล (Paranal) และ Llano de Chajnantor

ลาซีญา

พารานัล

Llano de Chajnantor

ประเทศสมาชิก

ประเทศ เข้าร่วมเมื่อ
ธงของประเทศเบลเยียม เบลเยียม 1962
ธงของประเทศเยอรมนี เยอรมนี 1962
ธงของประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 1962
ธงของประเทศเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ 1962
ธงของประเทศสวีเดน สวีเดน 1962
ธงของประเทศเดนมาร์ก เดนมาร์ก 1967
ธงของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ 1981
ธงของประเทศอิตาลี อิตาลี 1982, 24 พฤษภาคม
ธงของประเทศโปรตุเกส โปรตุเกส 2000, 27 มิถุนายน
 สหราชอาณาจักร 2002, 8 กรกฎาคม
ธงของประเทศฟินแลนด์ ฟินแลนด์ 2004, 1 กรกฎาคม
ธงของประเทศสเปน สเปน 2006, 1 กรกฎาคม
ธงของประเทศเช็กเกีย เช็กเกีย 2007, 1 มกราคม
ธงของประเทศออสเตรีย ออสเตรีย 2008, 1 กรกฎาคม

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น

Video clips