ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โยฮันเนิส เค็พเพลอร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tinuviel (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tinuviel (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3: บรรทัด 3:
|image = JKepler.jpg
|image = JKepler.jpg
|caption = โยฮันเนส เคปเลอร์
|caption = โยฮันเนส เคปเลอร์
|birth_date = ๒๗ ธันวาคม พ.ศ. ๒๑๑๔
|birth_date = {{Birth date|mf=yes|1571|12|27}}
|birth_place = [[ไวล์ แดร์ ชตัดท์]] ใกล้ [[ชตุทท์การ์ท]] ประเทศ[[เยอรมนี]]
|birth_place = [[ไวล์ แดร์ ชตัดท์]] ใกล้ [[ชตุทท์การ์ท]] ประเทศ[[เยอรมนี]]
|death_date = {{Death date and age|mf=yes|1630|11|15|1571|12|27}}
|death_date = ๒๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๑๗๓
|death_place = [[เรเก้นสบวร์ก]] [[บาวาเรีย]] ประเทศ[[เยอรมนี]]
|death_place = [[เรเก้นสบวร์ก]] [[บาวาเรีย]] ประเทศ[[เยอรมนี]]
|field = [[นักดาราศาสตร์]] [[นักโหราศาสตร์]] และ[[นักคณิตศาสตร์]]
|field = [[นักดาราศาสตร์]] [[นักโหราศาสตร์]] และ[[นักคณิตศาสตร์]]
|nationality = ชาวเยอรมัน
|nationality = ชาวเยอรมัน
|country = Germany
|country = เยอรมัน
|ethnicity = ชาวเยอรมัน
|ethnicity = ชาวเยอรมัน
|known_for = [[กฎของเคปเลอร์]]
|known_for = [[กฎของเคปเลอร์]]
บรรทัด 22: บรรทัด 22:
โยฮันเนส เคปเลอร์ ประกอบอาชีพเป็นครูสอนคณิตศาสตร์ที่โรงเรียน Graz (ภายหลังเปลี่ยนเป็น [[มหาวิทยาลัย Graz]]) และเป็นผู้ช่วยของ [[ไทโค บราเฮ]] นักคณิตศาสตร์ในความอุปถัมภ์ของ[[จักรพรรดิรูดอร์ฟที่ 2]] ผู้ซึ่งรวบรวมรวมข้อมูลของดาวเคราะห์มาตลอดชีวิต และปูทางให้เคปเลอร์ค้นพบกฎการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ในเวลาต่อมา เขาทำงานด้าน[[ทัศนศาสตร์]] และช่วยสนับสนุนการค้นพบกล้องโทรทรรศน์ของ[[กาลิเลโอ กาลิเลอี]]
โยฮันเนส เคปเลอร์ ประกอบอาชีพเป็นครูสอนคณิตศาสตร์ที่โรงเรียน Graz (ภายหลังเปลี่ยนเป็น [[มหาวิทยาลัย Graz]]) และเป็นผู้ช่วยของ [[ไทโค บราเฮ]] นักคณิตศาสตร์ในความอุปถัมภ์ของ[[จักรพรรดิรูดอร์ฟที่ 2]] ผู้ซึ่งรวบรวมรวมข้อมูลของดาวเคราะห์มาตลอดชีวิต และปูทางให้เคปเลอร์ค้นพบกฎการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ในเวลาต่อมา เขาทำงานด้าน[[ทัศนศาสตร์]] และช่วยสนับสนุนการค้นพบกล้องโทรทรรศน์ของ[[กาลิเลโอ กาลิเลอี]]


เขาถูกยกย่องว่าเป็น "[[นักฟิสิกส์ดาราศาสตร์ทฤษฎี]]คนแรก" แต่[[คาร์ล ซาแกน]] ยกย่องเขาในฐานะ นักโหราศาสตร์ทางวิทยาศาสตร์คนสุดท้าย
เขาถูกยกย่องว่าเป็น "[[นักฟิสิกส์ดาราศาสตร์ทฤษฎี]]คนแรก" แต่[[คาร์ล ซาแกน]] ยกย่องเขาในฐานะ "นักโหราศาสตร์ทางวิทยาศาสตร์คนสุดท้าย"


== กฏของเคปเลอร์ ==
== กฏของเคปเลอร์ ==
บรรทัด 29: บรรทัด 29:
# '''กฎแห่งคาบ''': คาบในการโคจรรอบดวงอาทิตย์กำลังสองแปรผันตรงกับระยะครึ่งแกนเอกของวงโคจรกำลังสาม
# '''กฎแห่งคาบ''': คาบในการโคจรรอบดวงอาทิตย์กำลังสองแปรผันตรงกับระยะครึ่งแกนเอกของวงโคจรกำลังสาม


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{Sister project links}}
* [http://www.johanneskepler.info JohannesKepler.Info] Kepler information and community website, launched on December 27, 2009
* [http://posner.library.cmu.edu/Posner/books/book.cgi?call=520_K38PI ''Harmonices mundi''] ("The Harmony of the Worlds") in fulltext facsimile; [[Carnegie-Mellon University]]
* [http://contentdm.lindahall.org/u?/star_atlas,6264 ''De Stella Nova in Pede Serpentarii''] ("On the new star in Ophiuchus's foot") in full text facsimile at [[Linda Hall Library]]
* {{Gutenberg|no=12406|name=Kepler|author=Walter W. Bryant}} (1920 book, part of ''Men of Science'' series)
* [http://www.univie.ac.at/hwastro/ Electronic facsimile-editions of the rare book collection at the Vienna Institute of Astronomy]
* {{dmoz|Science/Astronomy/History/People/Kepler,_Johannes}}
* Audio – Cain/Gay (2010) [http://www.astronomycast.com/history/ep-189-johannes-kepler-and-his-laws-of-planetary-motion/ Astronomy Cast] Johannes Kepler and His Laws of Planetary Motion
* Christianson, Gale E., [http://www.depauw.edu/sfs/backissues/8/christianson8art.htm Kepler's Somnium: Science Fiction and the Renaissance Scientist]
* [[Nicholas Kollerstrom|Kollerstrom, Nicholas]], [http://www.skyscript.co.uk/kepler2.html Kepler's Belief in Astrology]
* [http://www-history.mcs.st-andrews.ac.uk/References/Kepler.html References for Johannes Kepler]
* Plant, David, [http://www.skyscript.co.uk/kepler.html Kepler and the "Music of the Spheres"]
* [http://www.mathpages.com/rr/s8-01/8-01.htm Kepler, Napier, and the Third Law] at MathPages
* Calderón Urreiztieta, Carlos. [http://www.calderon-online.com/trabajos/kepler/harmonicemundi.html Harmonice Mundi • Animated and multimedia version of Book V]
* [http://www.gabridge.com/full-long.html#God Reading the mind of God] 1997 drama based on his life by Patrick Gabridge
* [http://www.archive.org/details/JohannesKepler-henryIiiOfFrance_680 Johannes Kepler] 2010 drama based on his life by Robert Lalonde

{{เรียงลำดับ|ยโฮันเนส คเคปเลอร์}}
[[หมวดหมู่:นักคณิตศาสตร์ชาวเยอรมัน]]
[[หมวดหมู่:นักดาราศาสตร์ชาวเยอรมัน]]
{{birth|1571}}{{death|1630}}
{{birth|1571}}{{death|1630}}
{{โครงดาราศาสตร์}}
{{โครงดาราศาสตร์}}

[[หมวดหมู่:นักคณิตศาสตร์ชาวเยอรมัน|ยโฮันเนส เคปเลอร์]]
[[หมวดหมู่:นักดาราศาสตร์ชาวเยอรมัน|ยโฮันเนส เคปเลอร์]]


{{Link FA|en}}
{{Link FA|en}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:55, 26 กุมภาพันธ์ 2555

โยฮันเนส เคปเลอร์
โยฮันเนส เคปเลอร์
เกิด27 ธันวาคม ค.ศ. 1571(1571-12-27)
ไวล์ แดร์ ชตัดท์ ใกล้ ชตุทท์การ์ท ประเทศเยอรมนี
เสียชีวิตพฤศจิกายน 15, 1630(1630-11-15) (58 ปี)
เรเก้นสบวร์ก บาวาเรีย ประเทศเยอรมนี
สัญชาติชาวเยอรมัน
การศึกษามหาวิทยาลัยแห่งทือบิงเงน
มีชื่อเสียงจากกฎของเคปเลอร์
อาชีพทางวิทยาศาสตร์
สาขานักดาราศาสตร์ นักโหราศาสตร์ และนักคณิตศาสตร์

โยฮันเนส เคปเลอร์ (อังกฤษ: Johannes Kepler; 27 ธันวาคม ค.ศ. 1571 - 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 1630) นักดาราศาสตร์ นักโหราศาสตร์และนักคณิตศาสตร์ชาวเยอรมัน ผู้มีส่วนสำคัญในการปฏิวัติวงการวิทยาศาสตร์ เขาค้นพบกฎการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ในงาน Astronomia nova, Harmonice Mundi ของเขา และได้แต่งหนังสือชื่อ Epitome of Copernican Astronomy

โยฮันเนส เคปเลอร์ ประกอบอาชีพเป็นครูสอนคณิตศาสตร์ที่โรงเรียน Graz (ภายหลังเปลี่ยนเป็น มหาวิทยาลัย Graz) และเป็นผู้ช่วยของ ไทโค บราเฮ นักคณิตศาสตร์ในความอุปถัมภ์ของจักรพรรดิรูดอร์ฟที่ 2 ผู้ซึ่งรวบรวมรวมข้อมูลของดาวเคราะห์มาตลอดชีวิต และปูทางให้เคปเลอร์ค้นพบกฎการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ในเวลาต่อมา เขาทำงานด้านทัศนศาสตร์ และช่วยสนับสนุนการค้นพบกล้องโทรทรรศน์ของกาลิเลโอ กาลิเลอี

เขาถูกยกย่องว่าเป็น "นักฟิสิกส์ดาราศาสตร์ทฤษฎีคนแรก" แต่คาร์ล ซาแกน ยกย่องเขาในฐานะ "นักโหราศาสตร์ทางวิทยาศาสตร์คนสุดท้าย"

กฏของเคปเลอร์

  1. กฎแห่งวงรี: ดาวเคราะห์โคจรเป็นรูปวงรีรอบดวงอาทิตย์ โดยมีดวงอาทิตย์อยู่ที่จุดโฟกัสจุดหนึ่ง
  2. กฎแห่งการกวาดพื้นที่: ในเวลาที่เท่ากันดาวเคราะห์จะมีพื้นที่ที่เส้นรัศมีจากดวงอาทิตย์ถึงดาวเคราะห์กวาดไปเท่ากัน หรือ dA/dt มีค่าคงที่
  3. กฎแห่งคาบ: คาบในการโคจรรอบดวงอาทิตย์กำลังสองแปรผันตรงกับระยะครึ่งแกนเอกของวงโคจรกำลังสาม

แหล่งข้อมูลอื่น


แม่แบบ:Link FA แม่แบบ:Link FA แม่แบบ:Link GA แม่แบบ:Link GA แม่แบบ:Link GA