ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกฤตการณ์ปากน้ำ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chale yan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Chale yan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3: บรรทัด 3:
|partof=[[วิกฤตการณ์ ร.ศ. 112]]
|partof=[[วิกฤตการณ์ ร.ศ. 112]]
|image=[[ไฟล์:Art of Paknam incident.jpg|300px]]
|image=[[ไฟล์:Art of Paknam incident.jpg|300px]]
|caption=เรือรบฝรั่งเศสภายใต้การระดมยิงจากป้อมปืนของสยามที่ปากแม่น้ำ
|caption=เรือรบฝรั่งเศสภายใต้การระดมยิงจากป้อมปืนของสยาม<br/>ที่ปากแม่น้ำ
|date=13 กรกฎาคม พ.ศ. 2436
|date=13 กรกฎาคม พ.ศ. 2436
|place=ปาก[[แม่น้ำเจ้าพระยา]] [[สยาม]]
|place=ปาก[[แม่น้ำเจ้าพระยา]] [[สยาม]]
บรรทัด 15: บรรทัด 15:
|strength2='''แผ่นดิน:'''<br/>ปืนเสือหมอบ 7 <br/>[[ระบบป้อมปราการ|ป้อมปืน]] 1 <br/>'''ทะเล:'''<br/>เรือปืน 5
|strength2='''แผ่นดิน:'''<br/>ปืนเสือหมอบ 7 <br/>[[ระบบป้อมปราการ|ป้อมปืน]] 1 <br/>'''ทะเล:'''<br/>เรือปืน 5
|casualties1=ตาย 3<br/>บาดเจ็บ 2 <br/>เรือกลไฟเกยตื้น 1<br/>เรือนำร่องเสียหาย 1<br/>เรือปืนเสียหาย 1
|casualties1=ตาย 3<br/>บาดเจ็บ 2 <br/>เรือกลไฟเกยตื้น 1<br/>เรือนำร่องเสียหาย 1<br/>เรือปืนเสียหาย 1
|casualties2=ตาย ~10<br/>บาดเจ็บ ~12<br/>เรือปืนอับปาง 1<br/>เรือปืนเสียหาย 1
|casualties2=ตาย ~10<br/>บาดเจ็บ ~12<br/>เรือปืนอับปาง 1<br/>เรือปืนเสียหาย 1{{fn|1}}
|notes=<br/>
|notes=<br/>
*''เรือกลไฟของฝรั่งเศสถูกควบคุมโดยสยามหลังจากการรบโดยปราศจากการต่อต้าน''
*''เรือกลไฟของฝรั่งเศสถูกควบคุมโดยสยามหลังจากการรบโดยปราศจากการต่อต้าน''
บรรทัด 22: บรรทัด 22:


==ภูมิหลัง==
==ภูมิหลัง==
ความขัดแย้งเกิดขึ้นเมื่อเรือการข่าว แองกองสตอง (Inconstant) และเรือปืน โกแมต (Comete) ของกองทัพเรือฝรั่งเศสเดินทางมาถึงปากแม่น้ำและขออนุญาติแล่นเรือผ่านปากแม่น้ำเจ้าพระยาเพื่อไปสมทบกับเรือ ลูแตง (Le Lutin) เพื่อเจรจาต่อรอง เมื่อสยามปฏิเสธ ผู้บังคับบัญชาฝ่ายฝรั่งเศส พลเรือตรี แอดการ์ อูว์มัน (Edgar Humann) เมินเฉยต่อความต้องการของสยามและคำสั่งจากรัฐบาลฝร่งเศสซึ่งก่อนการต่อสู้ พลเรือตรี อูว์มัน ได้รับคำสั่งห้ามเข้าสู่ปากแม่น้ำเพราะสยามได้เตรียมการอย่างดีสำหรับการรบ กองกำลังฝ่ายสยามประกอบด้วย[[ป้อมพระจุลจอมเกล้า]]ที่พึ่งสร้างขึ้น มีปืนเสือหมอบขนาด 6 นิ้ว 7 กระบอก สยามยังได้จมเรือสำเภาและเรือบรรทุกหินในแม่น้ำเพื่อเป็นแนวป้องกันบีบเป็นทางผ่านแคบๆเพียงทางเดียว
ความขัดแย้งเกิดขึ้นเมื่อเรือการข่าว แองกองสตอง (Inconstant) และเรือปืน โกแมต (Comete) ของกองทัพเรือฝรั่งเศสเดินทางมาถึงปากแม่น้ำและขออนุญาติแล่นเรือผ่านปากแม่น้ำเจ้าพระยาเพื่อไปสมทบกับเรือ ลูแตง (Le Lutin) เพื่อเจรจาต่อรอง เมื่อสยามปฏิเสธ ผู้บังคับบัญชาฝ่ายฝรั่งเศส พลเรือตรี แอดการ์ อูว์มัน (Edgar Humann) เมินเฉยต่อความต้องการของสยามและคำสั่งจากรัฐบาลฝร่งเศสซึ่งก่อนการต่อสู้ พลเรือตรี อูว์มัน ได้รับคำสั่งห้ามเข้าสู่ปากแม่น้ำเพราะสยามได้เตรียมการอย่างดีสำหรับการรบ กองกำลังฝ่ายสยามประกอบด้วย[[ป้อมพระจุลจอมเกล้า]]ที่พึ่งสร้างขึ้น มีปืนเสือหมอบขนาด 6 นิ้ว 7 กระบอก{{fn|2}} สยามยังได้จมเรือสำเภาและเรือบรรทุกหินในแม่น้ำเพื่อเป็นแนวป้องกันบีบเป็นทางผ่านแคบๆเพียงทางเดียว


เรือปืน 5 ลำจอดทอดสมออยู่ด้านหลังแนวสิ่งกีดขวาง ประกอบไปด้วย เรือมกุฎราชกุมาร, เรือทูลกระหม่อม, เรือหาญหักศัตรู, เรือนฤเบนทร์บุตรี และ เรือมูรธาวสิตสวัสดิ์ เรือ 2 ลำเป็นเรือรบทันสมัยขณะที่เรือที่เหลือเป็นเรือปืนเก่าหรือเรือกลไฟแม่น้ำที่ดัดแปลงมา มีการวางข่ายทุ่นระเบิด 16 ลูก ผู้บังคับบัญชาป้อมเป็นนายพลเรือชาว[[ประเทศเนเธอร์แลนด์|ดัตช์]]ซึ่งเป็นหนึ่งในชาว[[ยุโรป]]หลายคนที่เข้ารับราชการในกองทัพไทย พลเรือโท เจ้าพระยาชลยุทธโยธินทร์ เป็นผู้บังคับบัญชาเรือปืน
เรือปืน 5 ลำจอดทอดสมออยู่ด้านหลังแนวสิ่งกีดขวาง ประกอบไปด้วย เรือมกุฎราชกุมาร, เรือทูลกระหม่อม, เรือหาญหักศัตรู, เรือนฤเบนทร์บุตรี และ เรือมูรธาวสิตสวัสดิ์ เรือ 2 ลำเป็นเรือรบทันสมัยขณะที่เรือที่เหลือเป็นเรือปืนเก่าหรือเรือกลไฟแม่น้ำที่ดัดแปลงมา มีการวางข่ายทุ่นระเบิด 16 ลูก ผู้บังคับบัญชาป้อมเป็นนายพลเรือชาว[[ประเทศเนเธอร์แลนด์|ดัตช์]]ซึ่งเป็นหนึ่งในชาว[[ยุโรป]]หลายคนที่เข้ารับราชการในกองทัพไทย พลเรือโท เจ้าพระยาชลยุทธโยธินทร์ เป็นผู้บังคับบัญชาเรือปืน
บรรทัด 40: บรรทัด 40:
==ดูเพิ่ม==
==ดูเพิ่ม==
*[[วิกฤตการณ์ ร.ศ. 112]]
*[[วิกฤตการณ์ ร.ศ. 112]]

== เชิงอรรถ ==
{{fnb|1}} เอกสารบางฉบับแสดงความสูญเสียดังนี้ ทหารฝรั่งเศสตาย 3 คนบาดเจ็บ 3 คน ทหารสยามตาย 8 คน บาดเจ็บ 41 คนและสูญหาย 1 คน<ref name="สารคดี"/><br>

{{fnb|2}} เอกสารบางฉบับมีป้อมผีเสื้อสมุทรรวมอยู่ด้วย<ref name="สารคดี">ไกรฤกษ์ นานา, วิกฤตการณ์ ร.ศ. 112, สารคดีปีที่ 26 ฉบับที่ 308 ตุลาคม 2553</ref><br><!--

{{fnb|3}}<br>

{{fnb|4}}<br>-->


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}
*Clare Smith, Israel, "The Unrivaled History of the World: Nineteenth Century", Werner Company, Chicago Illinois (1893), pg.# 1862
*Clare Smith, Israel, "The Unrivaled History of the World: Nineteenth Century", Werner Company, Chicago Illinois (1893), pg.# 1862
*Hogan Edmond, Albert, "Pacific blockade", Clarendon Press, Oxford University (1908), pg.# 138-139
*Hogan Edmond, Albert, "Pacific blockade", Clarendon Press, Oxford University (1908), pg.# 138-139

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:12, 31 ตุลาคม 2553

วิกฤตการณ์ปากน้ำ
ส่วนหนึ่งของ วิกฤตการณ์ ร.ศ. 112

เรือรบฝรั่งเศสภายใต้การระดมยิงจากป้อมปืนของสยาม
ที่ปากแม่น้ำ
วันที่13 กรกฎาคม พ.ศ. 2436
สถานที่
ผล ฝรั่งเศสได้รับชัยชนะและบรรลุวัตถุประสงค์
คู่สงคราม
 ฝรั่งเศส ไทย สยาม
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
ฝรั่งเศส แอดการ์ อูว์มัน ไทย พระยาชลยุทธโยธินทร์
กำลัง
เรือการข่าว 1
เรือปืน 1
เรือกลไฟ 1
แผ่นดิน:
ปืนเสือหมอบ 7
ป้อมปืน 1
ทะเล:
เรือปืน 5
ความสูญเสีย
ตาย 3
บาดเจ็บ 2
เรือกลไฟเกยตื้น 1
เรือนำร่องเสียหาย 1
เรือปืนเสียหาย 1
ตาย ~10
บาดเจ็บ ~12
เรือปืนอับปาง 1
เรือปืนเสียหาย 11


  • เรือกลไฟของฝรั่งเศสถูกควบคุมโดยสยามหลังจากการรบโดยปราศจากการต่อต้าน

วิกฤตการณ์ปากน้ำ เป็นการรบระหว่างวิกฤตการณ์ ร.ศ. 112 ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2436 ในขณะที่แล่นเรือผ่านเข้าไปในปากแม่น้ำเจ้าพระยา เรือรบฝรั่งเศส 3 ลำถูกโจมตีโดยป้อมปืนของสยามและเรือปืน ในผลการรบฝรั่งเศสได้รับชัยชนะและดำเนินการปิดล้อมกรุงเทพซึ่งเป็นจุดสิ้นสุดของเหตุการณ์

ภูมิหลัง

ความขัดแย้งเกิดขึ้นเมื่อเรือการข่าว แองกองสตอง (Inconstant) และเรือปืน โกแมต (Comete) ของกองทัพเรือฝรั่งเศสเดินทางมาถึงปากแม่น้ำและขออนุญาติแล่นเรือผ่านปากแม่น้ำเจ้าพระยาเพื่อไปสมทบกับเรือ ลูแตง (Le Lutin) เพื่อเจรจาต่อรอง เมื่อสยามปฏิเสธ ผู้บังคับบัญชาฝ่ายฝรั่งเศส พลเรือตรี แอดการ์ อูว์มัน (Edgar Humann) เมินเฉยต่อความต้องการของสยามและคำสั่งจากรัฐบาลฝร่งเศสซึ่งก่อนการต่อสู้ พลเรือตรี อูว์มัน ได้รับคำสั่งห้ามเข้าสู่ปากแม่น้ำเพราะสยามได้เตรียมการอย่างดีสำหรับการรบ กองกำลังฝ่ายสยามประกอบด้วยป้อมพระจุลจอมเกล้าที่พึ่งสร้างขึ้น มีปืนเสือหมอบขนาด 6 นิ้ว 7 กระบอก2 สยามยังได้จมเรือสำเภาและเรือบรรทุกหินในแม่น้ำเพื่อเป็นแนวป้องกันบีบเป็นทางผ่านแคบๆเพียงทางเดียว

เรือปืน 5 ลำจอดทอดสมออยู่ด้านหลังแนวสิ่งกีดขวาง ประกอบไปด้วย เรือมกุฎราชกุมาร, เรือทูลกระหม่อม, เรือหาญหักศัตรู, เรือนฤเบนทร์บุตรี และ เรือมูรธาวสิตสวัสดิ์ เรือ 2 ลำเป็นเรือรบทันสมัยขณะที่เรือที่เหลือเป็นเรือปืนเก่าหรือเรือกลไฟแม่น้ำที่ดัดแปลงมา มีการวางข่ายทุ่นระเบิด 16 ลูก ผู้บังคับบัญชาป้อมเป็นนายพลเรือชาวดัตช์ซึ่งเป็นหนึ่งในชาวยุโรปหลายคนที่เข้ารับราชการในกองทัพไทย พลเรือโท เจ้าพระยาชลยุทธโยธินทร์ เป็นผู้บังคับบัญชาเรือปืน

ดูเพิ่ม

เชิงอรรถ

หมายเหตุ 1: เอกสารบางฉบับแสดงความสูญเสียดังนี้ ทหารฝรั่งเศสตาย 3 คนบาดเจ็บ 3 คน ทหารสยามตาย 8 คน บาดเจ็บ 41 คนและสูญหาย 1 คน[1]

หมายเหตุ 2: เอกสารบางฉบับมีป้อมผีเสื้อสมุทรรวมอยู่ด้วย[1]

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 ไกรฤกษ์ นานา, วิกฤตการณ์ ร.ศ. 112, สารคดีปีที่ 26 ฉบับที่ 308 ตุลาคม 2553
  • Clare Smith, Israel, "The Unrivaled History of the World: Nineteenth Century", Werner Company, Chicago Illinois (1893), pg.# 1862
  • Hogan Edmond, Albert, "Pacific blockade", Clarendon Press, Oxford University (1908), pg.# 138-139