ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ออร์แกเนลล์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
SieBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: sh:Organela
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: bs:Organela; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{รอการตรวจสอบ}}
[[ภาพ:biological_cell.svg|thumb|330px|ภาพเซลล์โดยสัตว์ทั่วไป ประกอบด้วย'''ออร์แกเนลล์'''ต่าง ๆ ดังนี้ (1) [[นิวคลีโอลัส]], (2) [[นิวเคลียสเซลล์|นิวเคลียส]], (3) [[ไรโบโซม]], (4) [[เวสิเคิล]], (5) [[เอนโดพลาสมิกเรติคูลัม]]แบบผิวขรุขระ, (6) [[กอลจิแอปพาราตัส]], (7) [[ไซโทสเกลเลตอน]], (8) [[เอนโดพลาสมิกเรติคูลัม]]แบบผิวเรียบ, (9) [[ไมโทคอนเดรีย]], (10) [[แวคิวโอล]], (11) [[ไซโทพลาซึม]], (12) [[ไลโซโซม]], (13) [[เซนทริโอล]]]]
[[ไฟล์:biological_cell.svg|thumb|330px|ภาพเซลล์โดยสัตว์ทั่วไป ประกอบด้วย'''ออร์แกเนลล์'''ต่าง ๆ ดังนี้ (1) [[นิวคลีโอลัส]], (2) [[นิวเคลียสเซลล์|นิวเคลียส]], (3) [[ไรโบโซม]], (4) [[เวสิเคิล]], (5) [[เอนโดพลาสมิกเรติคูลัม]]แบบผิวขรุขระ, (6) [[กอลจิแอปพาราตัส]], (7) [[ไซโทสเกลเลตอน]], (8) [[เอนโดพลาสมิกเรติคูลัม]]แบบผิวเรียบ, (9) [[ไมโทคอนเดรีย]], (10) [[แวคิวโอล]], (11) [[ไซโทพลาซึม]], (12) [[ไลโซโซม]], (13) [[เซนทริโอล]]]]


ใน[[ชีววิทยาของเซลล์]] '''ออร์แกเนลล์'''เป็นโครงสร้างย่อยๆ ภายใน[[เซลล์ (ชีววิทยา)|เซลล์]]ที่มีหน้าที่เฉพาะ และอยู่ภายในโครงสร้างปิดที่เป็นเยื่อ[[ลิพิด]]
ใน[[ชีววิทยาของเซลล์]] '''ออร์แกเนลล์'''เป็นโครงสร้างย่อยๆ ภายใน[[เซลล์ (ชีววิทยา)|เซลล์]]ที่มีหน้าที่เฉพาะ และอยู่ภายในโครงสร้างปิดที่เป็นเยื่อ[[ลิพิด]]
บรรทัด 22: บรรทัด 22:
[[bn:অঙ্গাণু]]
[[bn:অঙ্গাণু]]
[[br:Organit]]
[[br:Organit]]
[[bs:Organela]]
[[ca:Orgànul]]
[[ca:Orgànul]]
[[cs:Buněčné organely a struktury]]
[[cs:Buněčné organely a struktury]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 04:47, 1 พฤศจิกายน 2552

ภาพเซลล์โดยสัตว์ทั่วไป ประกอบด้วยออร์แกเนลล์ต่าง ๆ ดังนี้ (1) นิวคลีโอลัส, (2) นิวเคลียส, (3) ไรโบโซม, (4) เวสิเคิล, (5) เอนโดพลาสมิกเรติคูลัมแบบผิวขรุขระ, (6) กอลจิแอปพาราตัส, (7) ไซโทสเกลเลตอน, (8) เอนโดพลาสมิกเรติคูลัมแบบผิวเรียบ, (9) ไมโทคอนเดรีย, (10) แวคิวโอล, (11) ไซโทพลาซึม, (12) ไลโซโซม, (13) เซนทริโอล

ในชีววิทยาของเซลล์ ออร์แกเนลล์เป็นโครงสร้างย่อยๆ ภายในเซลล์ที่มีหน้าที่เฉพาะ และอยู่ภายในโครงสร้างปิดที่เป็นเยื่อลิพิด

คำว่า ออร์แกเนลล์ (organelle) มาจากแนวความคิดที่ว่า โครงสร้างเล็กๆ ในเซลล์นี้เปรียบเหมือนกับ อวัยวะ (organ) ของร่างกาย (โดยการเติมคำปัจจัย -elle: เป็นส่วนเล็กๆ) ออร์แกเนลล์มองเห็นได้ภายใต้กล้องจุลทรรศน์ และแยกให้บริสุทธิ์ได้โดยวิธีการกระบวนการปั่นแยกเซลล์ (cell fractionation)

ออร์แกเนลล์มีหลายชนิดโดยเฉพาะในเซลล์ยูแคริโอตของสัตว์ชั้นสูง เซลล์โปรแคริโอตในครั้งหนึ่งเคยคิดว่าไม่มีออร์แกเนลล์ แต่ว่ามีงานวิจัยที่สามารถพิสูจน์ได้ว่ามี[1]

อ้างอิง

  1. Kerfeld CA, Sawaya MR, Tanaka S; และคณะ (2005). "Protein structures forming the shell of primitive bacterial organelles". Science. 309 (5736): 936–8. PMID 16081736. {{cite journal}}: ใช้ et al. อย่างชัดเจน ใน |author= (help)CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)


แม่แบบ:Link FA