ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พืชบก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Taweetham (คุย | ส่วนร่วม)
-CRLF
Chale yan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 41: บรรทัด 41:


'''พืชบก''' (Embryophyte) คือกลุ่ม[[พืช]]ที่เราคุ้นเคยกันดี ประกอบไปด้วย[[ต้นไม้]], [[ไม้ดอก]], [[เฟิร์น]], [[มอสส์]] และ'''พืชบกสีเขียว'''อื่นๆ ทั้งหมดเป็น[[ยูแคริโอต]]หลายเซลล์ที่สลับซับซ้อนที่มีอวัยวะสำหรับสืบพันธุ์เป็นแบบพิเศษ พืชบกได้รับพลังงานจาก[[การสังเคราะห์ด้วยแสง]]และสังเคราะห์อาหารจาก[[คาร์บอนไดออกไซด์]] พืชบกอาจต่างจาก[[สาหร่าย]]หลายเซลล์ที่ใช้[[คลอโรฟิลล์]]โดยสาหร่ายมีอวัยวะสืบพันธุ์นั้นเป็นหมัน '''พืชบก'''ส่วนมากปรับตัวอาศัยอยู่บนบกแต่ก็มีบางส่วนอาศัยอยู่ในน้ำ
'''พืชบก''' (Embryophyte) คือกลุ่ม[[พืช]]ที่เราคุ้นเคยกันดี ประกอบไปด้วย[[ต้นไม้]], [[ไม้ดอก]], [[เฟิร์น]], [[มอสส์]] และ'''พืชบกสีเขียว'''อื่นๆ ทั้งหมดเป็น[[ยูแคริโอต]]หลายเซลล์ที่สลับซับซ้อนที่มีอวัยวะสำหรับสืบพันธุ์เป็นแบบพิเศษ พืชบกได้รับพลังงานจาก[[การสังเคราะห์ด้วยแสง]]และสังเคราะห์อาหารจาก[[คาร์บอนไดออกไซด์]] พืชบกอาจต่างจาก[[สาหร่าย]]หลายเซลล์ที่ใช้[[คลอโรฟิลล์]]โดยสาหร่ายมีอวัยวะสืบพันธุ์นั้นเป็นหมัน '''พืชบก'''ส่วนมากปรับตัวอาศัยอยู่บนบกแต่ก็มีบางส่วนอาศัยอยู่ในน้ำ
<!--==Diversity and classification==
Embryophytes developed from complex [[green alga]]e ([[Chlorophyta]]) during the [[Paleozoic]] era. The [[Charales]] or stoneworts appear to be the best living illustration of that developmental step. These alga-like plants undergo an [[alternation of generations|alternation]] between [[haploid]] and [[diploid]] generations (respectively called [[gametophyte]]s and [[sporophyte]]s).


==ความหลากหลายและการจำแนก==

พืชบกวิวัฒนาการมาจาก[[ส่าหร่ายสีเขียว]]ที่ซับซ้อน ([[Chlorophyta]]) ระหว่าง[[มหายุคพาลีโอโซอิก]] สโตนเวิร์ตเป็นสิ่งที่แสดงถึงขั้นวิวัฒนาการนั้นได้ดีที่สุด พืชที่คล้ายสาหร่ายนี้อยู่ภายใต้การสลับของวงจรชีวิตระหว่างมีโครโมโซมหนึ่งชุดและมีโครโมโซมสองชุด (หรือที่เรียกว่าแกมีโทไฟต์และสปอโรไฟต์)

<!--
=== Bryophytes ===
=== Bryophytes ===
In the first embryophytes, however, the sporophytes became very different in structure and function, remaining small and dependent on the parent for their entire brief life. Such plants are informally called '[[bryophytes]]'. They include three surviving groups:
In the first embryophytes, however, the sporophytes became very different in structure and function, remaining small and dependent on the parent for their entire brief life. Such plants are informally called '[[bryophytes]]'. They include three surviving groups:

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:28, 15 กรกฎาคม 2552

พืชบก
ช่วงเวลาที่มีชีวิตอยู่: Late Silurian–Recent[1][2] (สปอร์จากยุคออร์โดวิเชียน)
ใบเฟิร์น
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
โดเมน: Eukaryota
อาณาจักรใหญ่: Archaeplastida
อาณาจักร: Plantae
อาณาจักรย่อย: Embryophyta
ส่วน

พืชบก (Embryophyte) คือกลุ่มพืชที่เราคุ้นเคยกันดี ประกอบไปด้วยต้นไม้, ไม้ดอก, เฟิร์น, มอสส์ และพืชบกสีเขียวอื่นๆ ทั้งหมดเป็นยูแคริโอตหลายเซลล์ที่สลับซับซ้อนที่มีอวัยวะสำหรับสืบพันธุ์เป็นแบบพิเศษ พืชบกได้รับพลังงานจากการสังเคราะห์ด้วยแสงและสังเคราะห์อาหารจากคาร์บอนไดออกไซด์ พืชบกอาจต่างจากสาหร่ายหลายเซลล์ที่ใช้คลอโรฟิลล์โดยสาหร่ายมีอวัยวะสืบพันธุ์นั้นเป็นหมัน พืชบกส่วนมากปรับตัวอาศัยอยู่บนบกแต่ก็มีบางส่วนอาศัยอยู่ในน้ำ

ความหลากหลายและการจำแนก

พืชบกวิวัฒนาการมาจากส่าหร่ายสีเขียวที่ซับซ้อน (Chlorophyta) ระหว่างมหายุคพาลีโอโซอิก สโตนเวิร์ตเป็นสิ่งที่แสดงถึงขั้นวิวัฒนาการนั้นได้ดีที่สุด พืชที่คล้ายสาหร่ายนี้อยู่ภายใต้การสลับของวงจรชีวิตระหว่างมีโครโมโซมหนึ่งชุดและมีโครโมโซมสองชุด (หรือที่เรียกว่าแกมีโทไฟต์และสปอโรไฟต์)


อ้างอิง

  1. Gray, J. (1985). (19850402) 309%3A1138%3C167%3ATMROEL%3E2.0.CO%3B2-E "The Microfossil Record of Early Land Plants: Advances in Understanding of Early Terrestrialization, 1970-1984". Philosophical Transactions of the Royal Society of London. Series B, Biological Sciences. 309 (1138): 167–195. doi:10.1098/rstb.1985.0077. {{cite journal}}: ตรวจสอบค่า |url= (help)
  2. Wellman et al. 2003, Science
  • Kenrick, Paul & Crane, Peter R. (1997). The Origin and Early Diversification of Land Plants: A Cladistic Study. Washington, D. C.: Smithsonian Institution Press. ISBN 1-56098-730-8.
  • Raven, Peter H., Evert, Ray F., & Eichhorn, Susan E. (2005). Biology of Plants (7th ed.). New York: W. H. Freeman and Company. ISBN 0-7167-1007-2.
  • Smith, Alan R., Kathleen M. Pryer, E. Schuettpelz, P. Korall, H. Schneider, & Paul G. Wolf. (2006). "A classification for extant ferns". Taxon 55 (3) : 705-731.
  • Stewart, Wilson N. & Rothwell, Gar W. (1993). Paleobotany and the Evolution of Plants (2nd ed.). Cambridge: Cambridge University Press. ISBN 0-521-38294-7.
  • Taylor, Thomas N. & Taylor, Edith L. (1993). The Biology and Evolution of Fossil Plants. Englewood Cliffs, NJ: Prentice Hall. ISBN 0-13-651589-4.