ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บรรณานุกรม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Boboverlord (คุย | ส่วนร่วม)
Aquapatinth (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
[[ภาพ:Library-shelves-bibliographies-Graz.jpg|thumb|250px|หนังสือที่จัดเรียงตามหมวดหมู่ ในห้องสมุด]]
[[ภาพ:Library-shelves-bibliographies-Graz.jpg|thumb|250px|หนังสือที่จัดเรียงตามหมวดหมู่ ในห้องสมุด]]
'''บรรณานุกรม''' หมายถึง รายการ[[หนังสือ]] [[วารสาร]] หรือแหล่งอ้างอิงที่ใช้ในการเขียนหนังสือ นิยมใช้เขียนบอกที่มาของบทความ หรืองานด้านวิชาการ
'''บรรณานุกรม''' หมายถึง รายการ[[หนังสือ]] [[วารสาร]] หรือแหล่งอ้างอิงที่ใช้ในการเขียนหนังสือ นิยมใช้เขียนบอกที่มาของบทความ หรืองานด้านวิชาการ คำว่า '''บรรณานุกรม''' มาจาก '''บรรณ''' คือ "หนังสือ, วรรณกรรม" และ '''อนุกรม''' คือ "ลำดับ", "การเรียงลำดับ" เมื่อ[[สนธิ]]กันแล้ว หมายถึง ลำดับรายชื่อหนังสือ อย่างไรก็ตาม คำว่า "บรรณานุกรม" เอง เป็น[[ศัพท์บัญญัติ]] จาก[[ภาษาอังกฤษ]]ว่า "[[:en:Bibliography|bibliography]]" ที่มีความหมายอย่างเดียวกัน โดยทั่วไปแล้ว การเขียนบรรณานุกรม นิยมเขียนไว้ท้ายเล่ม หรือท้ายบท โดยมีลำดับ หรือเกณฑ์การเขียนที่เคร่งครัด

คำว่า '''บรรณานุกรม''' มาจาก '''บรรณ''' คือ "หนังสือ, วรรณกรรม" และ '''อนุกรม''' คือ "ลำดับ", "การเรียงลำดับ" เมื่อ[[สนธิ]]กันแล้ว หมายถึง ลำดับรายชื่อหนังสือ นั่นเอง

อย่างไรก็ตาม คำว่า "บรรณานุกรม" เอง เป็น[[ศัพท์บัญญัติ]] จาก[[ภาษาอังกฤษ]]ว่า "[[:en:Bibliography|bibliography]]" ที่มีความหมายอย่างเดียวกัน

โดยทั่วไปแล้ว การเขียนบรรณานุกรม นิยมเขียนไว้ท้ายเล่ม หรือท้ายบท โดยมีลำดับ หรือเกณฑ์การเขียนที่เคร่งครัด


== การเขียนบรรณานุกรม ==
== การเขียนบรรณานุกรม ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:17, 21 มิถุนายน 2551

หนังสือที่จัดเรียงตามหมวดหมู่ ในห้องสมุด

บรรณานุกรม หมายถึง รายการหนังสือ วารสาร หรือแหล่งอ้างอิงที่ใช้ในการเขียนหนังสือ นิยมใช้เขียนบอกที่มาของบทความ หรืองานด้านวิชาการ คำว่า บรรณานุกรม มาจาก บรรณ คือ "หนังสือ, วรรณกรรม" และ อนุกรม คือ "ลำดับ", "การเรียงลำดับ" เมื่อสนธิกันแล้ว หมายถึง ลำดับรายชื่อหนังสือ อย่างไรก็ตาม คำว่า "บรรณานุกรม" เอง เป็นศัพท์บัญญัติ จากภาษาอังกฤษว่า "bibliography" ที่มีความหมายอย่างเดียวกัน โดยทั่วไปแล้ว การเขียนบรรณานุกรม นิยมเขียนไว้ท้ายเล่ม หรือท้ายบท โดยมีลำดับ หรือเกณฑ์การเขียนที่เคร่งครัด

การเขียนบรรณานุกรม

หลักทั่วไปในการเขียนบรรณานุกรม มักจะเรียงลำดับ ดังต่อนี้ไป

หลักการ ตัวอย่าง หมายเหตุ
ชื่อ ชื่อสกุล. เว้นวรรค ชื่อเรื่อง. เว้นวรรค ครั้งที่พิมพ์. เว้นวรรค เมืองที่พิมพ์ เว้นวรรค : เว้นวรรค ผู้รับผิดชอบในการพิมพ์ (หรือสำนักพิมพ์), เว้นวรรค ปีที่พิมพ์. ประคอง นิมมานเหมินท์. นิทานพื้นบ้านศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : โครงการเผยแพรผล งานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545. บรรณานุกรมเรื่องหนึ่ง เมื่อขึ้นต้นบรรทัดแรก ให้ชิดซ้าย หากมีความยาวเกิน 1 บรรทัด บรรทัดต่อมา ให้ย่อเข้าไป, การใส่จุด (.) นิยมใช้ตามรูปแบบข้างบนนี้

รายละเอียด

ส่วน เงื่อนไข รายละเอียด
ชื่อผู้แต่ง ผู้แต่งเป็นชาวต่างประเทศ ให้ใช้ ชื่อสกุล (Last name) ขึ้นก่อน แล้วตามด้วย ชื่อต้น (First name) และชื่อกลาง (Middle name) ตามลำดับ
ผู้แต่งที่เป็นพระมหากษัตริย์ พระราชินี พระบรมวงศานุวงศ์ และผู้แต่งที่มีราชทินนาม ฐานันดรศักดิ์ สมณศักดิ์ ให้ใส่ ราชทินนาม ฐานันดรศักดิ์ สมณศักดิ์ นั้นไว้ข้างหลังชื่อ โดยหลังชื่อผู้แต่งเครื่องหมายจุลภาค (,) ส่วนคำนำหน้านาม เช่น นาย นาง นางสาว ตำแหน่งทางวิชาการ อาชีพ หรือยศ ให้ตัดออกไป ยกเว้น นามแฝง เช่น ว.วินิจฉัยกุล, ดร.ป๊อป, หลังชื่อผู้แต่งให้ใส่เครื่องหมายมหัพภาค (.)
ครั้งที่พิมพ์ เมื่อพิมพ์ตั้งแต่ครั้งที่ 2 เป็นต้นไป ให้ระบุครั้งที่พิมพ์ หลังครั้งที่พิมพ์ โดยใส่เครื่องหมาย มหัพภาค (.) ต่อท้าย
สถานที่พิมพ์ หากมี ให้ระบุชื่อเมืองที่สำนักพิมพ์ หรือโรงพิมพ์นั้นตั้งอยู่ โดยใช้ชื่อเมืองตามที่ปรากฏในหนังสือเล่มนั้นๆ
หากไม่มี ให้ใช้ (ม.ป.ท.) คือ ไม่ปรากฏสถานที่พิมพ์ หลังครั้งที่พิมพ์ใส่เครื่องหมายทวิภาค ( ; )
สำนักพิมพ์ หากมีทั้งสำนักพิมพ์และโรงพิมพ์ ให้ใช้ชื่อสำนักพิมพ์
หากมีคำที่เป็นส่วนหนึ่งของสำนักพิมพ์ เช่น บริษัท ห้างหุ้นส่วนจำกัด ให้ตัดออกเหลือเพียงชื่อสำนักพิมพ์
หากไม่ปรากฏชื่อสำนักพิมพ์หรือโรงพิมพ์ ให้ใช้ (ม.ป.ท.) แทนเพียงครั้งเดียว หลังสำนักพิมพ์ใส่เครื่องหมายจุลภาค (,)
ปีที่พิมพ์ หากไม่มี ให้ใช้ว่า (ม.ป.ป.) ถ้าหนังสือไม่ปรากฏทั้งสถานที่พิมพ์และปีที่พิมพ์ ให้ใช้ว่า (ม.ป.ท., หรือ ม.ป.ป.) หลังปีที่พิมพ์ใส่เครื่องหมายมหัพภาค (.)

ดูเพิ่ม