ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เรื่องสั้น"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
6644
บรรทัด 1: บรรทัด 1:


'''เรื่องสั้น''' คือ[[บันเทิงคดี]]ร้อยแก้วรูปแบบหนึ่ง หมายถึงเรื่องแต่งที่มีขนาดสั้น มีจำนวนคำระหว่างหนึ่งพันถึงหนึ่งหมื่นคำ หากเกินกว่านี้อาจกลายเป็น[[นวนิยาย]]<ref name="ram">{{อ้างหนังสือ
'''เรื่องสั้น''' คือ[[บันเทิงคดี]]ร้อ........ยถึงเรื่องแต่งที่มีขนาดสั้น มีจำนวนคำระหว่างหนึ่งพันถึงหนึ่งหมื่นคำ หากเกินกว่านี้อาจกลายเป็น[[นวนิยาย]]<ref name="ram">{{อ้างหนังสือ
| ผู้แต่ง = รื่นฤทัย สัจจพันธุ์. คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง | จังหวัด = กรุงเทพฯ | ชื่อหนังสือ = วรรณกรรมปัจจุบัน | พิมพ์ที่ = สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง | ปี = 2540 | ISBN = 974-501-541-5 | จำนวนหน้า = 272}}</ref> เนื่องจากเรื่องสั้นมีองค์ประกอบเหมือนกับนวนิยาย ทั้งโครงเรื่อง, ฉาก, ตัวละคร, แก่นเรื่อง ด้วยเหตุนี้ เรื่องสั้นจะถูกบังคับให้มีตัวละครจำนวนไม่มากและไม่สามารถเขียนพรรณาอย่างเยิ่นเยิ้อละเอียดละออ ส่วนเด่นสุดของเรื่องสั้นคือแก่นเรื่อง การดำเนินเรื่องจะมุ่งเข้าสู่ประเด็นหลักอย่างรวดเร็ว ส่วนองค์ประกอบอื่นเป็นส่วนรอง ตัวละครบางตัวอาจไม่ปรากฎภูมิหลังหรือไม่ปรากฎชื่อเสียด้วยซ้ำ
| ผู้แต่ง = รื่นฤทัย สัจจพันธุ์. คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง | จังหวัด = กรุงเทพฯ | ชื่อหนังสือ = วรรณกรรมปัจจุบัน | พิมพ์ที่ = สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง | ปี = 2540 | ISBN = 974-501-541-5 | จำนวนหน้า = 272}}</ref> เนื่องจากเรื่องสั้นมีองค์ประกอบเหมือนกับนวนิยาย ทั้งโครงเรื่อง, ฉาก, ตัวละคร, แก่นเรื่อง ด้วยเหตุนี้ เรื่องสั้นจะถูกบังคับให้มีตัวละครจำนวนไม่มากและไม่สามารถเขียนพรรณาอย่างเยิ่นเยิ้อละเอียดละออ ส่วนเด่นสุดของเรื่องสั้นคือแก่นเรื่อง การดำเนินเรื่องจะมุ่งเข้าสู่ประเด็นหลักอย่างรวดเร็ว ส่วนองค์ประกอบอื่นเป็นส่วนรอง ตัวละครบางตัวอาจไม่ปรากฎภูมิหลังหรือไม่ปรากฎชื่อเสียด้วยซ้ำ



รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:51, 29 ธันวาคม 2564

เรื่องสั้น คือบันเทิงคดีร้อ........ยถึงเรื่องแต่งที่มีขนาดสั้น มีจำนวนคำระหว่างหนึ่งพันถึงหนึ่งหมื่นคำ หากเกินกว่านี้อาจกลายเป็นนวนิยาย[1] เนื่องจากเรื่องสั้นมีองค์ประกอบเหมือนกับนวนิยาย ทั้งโครงเรื่อง, ฉาก, ตัวละคร, แก่นเรื่อง ด้วยเหตุนี้ เรื่องสั้นจะถูกบังคับให้มีตัวละครจำนวนไม่มากและไม่สามารถเขียนพรรณาอย่างเยิ่นเยิ้อละเอียดละออ ส่วนเด่นสุดของเรื่องสั้นคือแก่นเรื่อง การดำเนินเรื่องจะมุ่งเข้าสู่ประเด็นหลักอย่างรวดเร็ว ส่วนองค์ประกอบอื่นเป็นส่วนรอง ตัวละครบางตัวอาจไม่ปรากฎภูมิหลังหรือไม่ปรากฎชื่อเสียด้วยซ้ำ

วรรณกรรมที่คลับคล้ายจะเรื่องสั้นเรื่องแรกของไทย คือเรื่อง สนุกนึก โดยพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหลวงพิชิตปรีชากร เมื่อพ.ศ. 2427[1] นักวิชาการบางคนลงความเห็นว่า แท้จริงแล้ว กรมหลวงพิชิตปรีชากรต้องการแต่งนวนิยาย แต่เรื่องดังกล่าวเกิดเป็นประเด็นกับสมเด็จพระสังฆราช จึงต้องยุติการแต่งและกลายเป็นเรื่องสั้นไป[2] เรื่องสั้นฉบับแรกของไทยจึงน่าจะเป็น พระเปียให้ทานธรรม[3]

รายชื่อนักเขียนเรื่องสั้นชาวไทย

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 รื่นฤทัย สัจจพันธุ์. คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง. วรรณกรรมปัจจุบัน. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2540. 272 หน้า. ISBN 974-501-541-5
  2. วิภา กงกะนันท์
  3. สุดารัตน์ เสรีวัฒน์. เรื่องสั้นของไทยในระยะแรก. อักษรศาสตร์พิจารณ์ ฉบับที่ 3 ปีที่ 2 (สิงหาคม 2517)