ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รถยนต์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 7: บรรทัด 7:
[[ไฟล์:Benz2 462.jpg|200px|right|thumb|รถยนต์รุ่นแรกของโลก]]
[[ไฟล์:Benz2 462.jpg|200px|right|thumb|รถยนต์รุ่นแรกของโลก]]


ก่อนช่วงปฏิวัติอุตสาหกรรม ยานพาหนะของผู้คนในสมัยนั้น ยังคงอาศัยแรงของสัตว์ เช่น [[รถม้า]] หลังจากมี[[การปฏิวัติอุตสาหกรรม]] ได้มีการประยุกต์ใช้แรงดันไอน้ำมาขับเคลื่อนเป็นยานพาหนะแบบใหม่ที่ไม่ต้องอาศัยแรงของสัตว์
โจ ก่อนช่วงปฏิวัติอุตสาหกรรม ยานพาหนะของผู้คนในสมัยนั้น ยังคงอาศัยแรงของสัตว์ เช่น [[รถม้า]] หลังจากมี[[การปฏิวัติอุตสาหกรรม]] ได้มีการประยุกต์ใช้แรงดันไอน้ำมาขับเคลื่อนเป็นยานพาหนะแบบใหม่ที่ไม่ต้องอาศัยแรงของสัตว์


ในปี ค.ศ. 1886 [[คาร์ล เบ็นทซ์]] วิศวกรชาวเยอรมันได้สร้างรถยนต์ที่ใช้เครื่องยนต์เพลิงเผาไหม้คันแรกของโลกได้สำเร็จ (Benz Patent Motorwagen) โดยใช้โครงสร้างแบบลูกสูบเหมือนของ[[เครื่องจักรไอน้ำ]] เพียงแต่ได้เพิ่มอุปกรณ์ที่จะเปลี่ยนเชื้อเพลิงในรูปของเหลวให้กลายเป็นก๊าซ และเพิ่มวาล์วไอดีไอเสีย ในรูปแบบของ[[เครื่องยนต์ 4 จังหวะ]] (ปัจจุบันรถยนต์ใช้ระบบเครื่องยนต์แบบสันดาปภายใน)
ในปี ค.ศ. 1886 [[คาร์ล เบ็นทซ์]] วิศวกรชาวเยอรมันได้สร้างรถยนต์ที่ใช้เครื่องยนต์เพลิงเผาไหม้คันแรกของโลกได้สำเร็จ (Benz Patent Motorwagen) โดยใช้โครงสร้างแบบลูกสูบเหมือนของ[[เครื่องจักรไอน้ำ]] เพียงแต่ได้เพิ่มอุปกรณ์ที่จะเปลี่ยนเชื้อเพลิงในรูปของเหลวให้กลายเป็นก๊าซ และเพิ่มวาล์วไอดีไอเสีย ในรูปแบบของ[[เครื่องยนต์ 4 จังหวะ]] (ปัจจุบันรถยนต์ใช้ระบบเครื่องยนต์แบบสันดาปภายใน)
บรรทัด 18: บรรทัด 18:
== รายชื่อยี่ห้อรถยนต์ในไทย ==
== รายชื่อยี่ห้อรถยนต์ในไทย ==
* [[ญี่ปุ่น]]: [[โตโยต้า]], [[เล็กซัส]], [[มาสด้า]], [[ฮอนด้า]], [[มิตซูบิชิ มอเตอร์ส|มิตซูบิชิ]], [[นิสสัน]], [[ซูบารุ]], [[ซูซูกิ]], [[อีซูซุ]], [[ฮีโน่]], [[มิตซูโอกะ]]
* [[ญี่ปุ่น]]: [[โตโยต้า]], [[เล็กซัส]], [[มาสด้า]], [[ฮอนด้า]], [[มิตซูบิชิ มอเตอร์ส|มิตซูบิชิ]], [[นิสสัน]], [[ซูบารุ]], [[ซูซูกิ]], [[อีซูซุ]], [[ฮีโน่]], [[มิตซูโอกะ]]
* [[เกาหลีใต้]]: [[ฮุนได มอเตอร์ส]], [[เกีย]], [[ซันยอง]]
* [[มาเลเซีย]]: [[โปรตอน (รถยนต์)|โปรตอน]]
* [[อินเดีย]]: [[ทาทา มอเตอร์ส|ทาทา]]
* [[จีน]]: [[เฌอรี่]], [[ตงฟง]], [[โฟตอน (ยี่ห้อรถยนต์)|โฟตอน]], [[แม็คซัส]]
* [[สหรัฐอเมริกา]]: [[เชฟโรเลต]], [[ฟอร์ดมอเตอร์|ฟอร์ด]], [[เทสลามอเตอร์ส|เทสลา]], [[จี๊ป]]
* [[อังกฤษ]]: [[มินิ]], [[เอ็มจี]], [[แอสตันมาร์ติน]], [[เบนท์เลย์]], [[แลนด์โรเวอร์]], [[โลตัส (รถยนต์)|โลตัส]], [[แม็คลาเรน ออโตโมทีฟ|แมคลาเรน]], [[โรลส์-รอยซ์]], [[จากัวร์ (รถยนต์)|จากัวร์]]
* [[เยอรมนี]]: [[เมอร์เซเดส-เบนซ์]], [[บีเอ็มดับเบิลยู]], [[โฟล์กสวาเกน]], [[ปอร์เช่]], [[ออดี้]], [[โอเปิล]]
* [[เยอรมนี]]: [[เมอร์เซเดส-เบนซ์]], [[บีเอ็มดับเบิลยู]], [[โฟล์กสวาเกน]], [[ปอร์เช่]], [[ออดี้]], [[โอเปิล]]
* [[สวีเดน]]: [[วอลโว่]]
* [[สวีเดน]]: [[วอลโว่]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:50, 21 พฤศจิกายน 2561

ภาพของรถยนต์และรถบรรทุกยุคใหม่กำลังขับอยู่บนทางด่วนสายหนึ่ง
รถสปอร์ตยุคใหม่

รถยนต์ หมายถึง ยานพาหนะทางบกที่ขับเคลื่อนที่ด้วยพลังงานอย่างใดอย่างหนึ่งและถ่ายทอดลงสู่ล้อ เพื่อพาผู้ขับ ผู้โดยสาร หรือสิ่งของ ไปยังจุดหมายปลายทาง ปัจจุบัน รถยนต์โดยส่วนมากได้รับการออกแบบอย่างซับซ้อนในทางวิศวกรรม และหลากหลายประเภท ตามความเหมาะสมของการใช้งาน หรือใช้สำหรับงานเฉพาะกิจ ทั้งนี้เว้นแต่รถไฟ[1]

ประวัติ

ไฟล์:Benz2 462.jpg
รถยนต์รุ่นแรกของโลก

โจ ก่อนช่วงปฏิวัติอุตสาหกรรม ยานพาหนะของผู้คนในสมัยนั้น ยังคงอาศัยแรงของสัตว์ เช่น รถม้า หลังจากมีการปฏิวัติอุตสาหกรรม ได้มีการประยุกต์ใช้แรงดันไอน้ำมาขับเคลื่อนเป็นยานพาหนะแบบใหม่ที่ไม่ต้องอาศัยแรงของสัตว์

ในปี ค.ศ. 1886 คาร์ล เบ็นทซ์ วิศวกรชาวเยอรมันได้สร้างรถยนต์ที่ใช้เครื่องยนต์เพลิงเผาไหม้คันแรกของโลกได้สำเร็จ (Benz Patent Motorwagen) โดยใช้โครงสร้างแบบลูกสูบเหมือนของเครื่องจักรไอน้ำ เพียงแต่ได้เพิ่มอุปกรณ์ที่จะเปลี่ยนเชื้อเพลิงในรูปของเหลวให้กลายเป็นก๊าซ และเพิ่มวาล์วไอดีไอเสีย ในรูปแบบของเครื่องยนต์ 4 จังหวะ (ปัจจุบันรถยนต์ใช้ระบบเครื่องยนต์แบบสันดาปภายใน)

เครื่องยนต์ที่ใช้พลังงานเชื้อเพลิงในยุคแรก ๆ นั้น ใช้น้ำมันเบนซินเป็นเชื้อเพลิง ต่อมาใน ค.ศ. 1897 รูด็อล์ฟ ดีเซิล พยายามคิดค้นพลังงานอื่นมาใช้กับเครื่องยนต์ จนสำเร็จเป็นเครื่องยนต์ดีเซล [ต้องการอ้างอิง]

ประเทศไทยเริ่มมีรถยนต์ใช้ในช่วงปี พ.ศ. 2446 (ค.ศ. 1903) ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยชาวต่างชาติเป็นคนนำเข้ามาภายในประเทศซึ่งได้รับความสนใจเป็นอย่างมาก หลังจากนั้นไทยได้เริ่มมีอุตสาหกรรมรถยนต์โดยใช้ชื่อบริษัทว่า ไทยรุ่ง ยูเนี่ยนคาร์ แต่ปัจจุบันเชื้อเพลิงดังกล่าวมีราคาสูงขึ้นและปริมาณ​น้อยลงมากทำให้มีการคิดค้นรถยนต์รุ่นใหม่ที่ใช้​พลังงานไฟฟ้าซึ่งสามารถผลิตขึ้นเองได้และมีความนิยมมากขึ้น

รายชื่อยี่ห้อรถยนต์ในไทย

อ้างอิง

  1. พระราชบัญญัติการขนส่งทางบก พ.ศ. 2522 ม. 4 (9)

ดูเพิ่ม