ผลต่างระหว่างรุ่นของ "4 จี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Hxkdoehdoskf
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 25: บรรทัด 25:


== ระบบความเข้ากันได้ ==
== ระบบความเข้ากันได้ ==
{| class="wikitable sortable"
|+ Comparison of Mobile Internet Access methods
! มาตรฐาน
! กลุ่ม
! กลุ่มการใช้งาน
! ระบบ
! ดาวน์โหลด (เมกกะบิต ต่อ วินาที)
! อัปโหลด (เมกกะบิต ต่อ วินาที)
! หมายเหตุ
|-
! [[3GPP Long Term Evolution|LTE]]
| UMTS/4GSM || General 4G || [[OFDMA]]/[[MIMO]]/[[SC-FDMA]] || 100 (in 20MHz bandwidth) || 50 (in 20 MHz bandwidth) || [[LTE Advanced|LTE-Advanced]] รุ่นใหม่ถูกออกแบบให้มีความเร็วอย่างต่ำ 1 Gbps เมื่ออุปกรณ์อยู่นิ่ง และ 100 Mbps เมื่ออุปกรณ์เคลื่อนที่ ,ใช้พลังงานมากกว่า WiMax 29% เมื่อใช้อัตราความเร็วที่ 10Mbps<ref>[http://ieeexplore.ieee.org/xpl/freeabs_all.jsp?arnumber=5557715 Comparison of power consumption of mobile WiMAX, HSPA and LTE access networks]</ref>
|-
! [[WiMAX]]
| [[802.16]] || Mobile Internet || MIMO-SOFDMA || 128 (in 20MHz bandwidth) || 56 (in 20MHz bandwidth) || WiMAX update [[IEEE 802.16m]] expected to offer peak rates of at least 1 Gbit/s fixed speeds and 100Mbit/s to mobile users.
|-
! [[Flash-OFDM]]
| Flash-OFDM || Mobile Internet<br />อุปกรณ์สามารถเคลื่อนที่ได้เร็วถึง 200 ไมล์ต่อชม. (350กิโลเมตรต่อชม.) || [[Flash-OFDM]] || 5.3<br />10.6<br />15.9 || 1.8<br />3.6<br />5.4 || ระยะครอบคลุม 18ไมล์ (30กม.)<br />extended range 34 miles (55km)
|-
! [[HIPERMAN]]
| HIPERMAN || Mobile Internet || [[OFDM]] || 56.9 || 56.9 ||
|-
! [[Wi-Fi]]
| 802.11<br /> ([[IEEE 802.11n|11n]]) || Mobile&nbsp;Internet || [[OFDM]]/[[MIMO]] || colspan = "2" align = "center"| 288.9* ||
[[High-gain antenna|Antenna]], [[RF front end]] enhancements and minor protocol timer tweaks have helped deploy long range [[Network topology#Point-to-point|P2P]] networks compromising on radial coverage, throughput and/or spectra efficiency ([http://www.alvarion.com/index.php/en/news-a-events/global-press-releases/948-worlds-longest-wi-fi-connection-made-by-the-swedish-space-corporation 310km] & [http://www.eslared.org.ve/articulos/Long%20Distance%20WiFi%20Trial.pdf 382km]) <br /> (*can support 600 when set at 40MHz channel width).
|-
! [[iBurst]]
| 802.20 || Mobile&nbsp;Internet || [[HC-SDMA]]/[[Time division duplex|TDD]]/[[MIMO]] || 95 || 36 || Cell Radius: 3–12 km<br />Speed: 250kmph<br />Spectral Efficiency: 13 bits/s/Hz/cell<br />Spectrum Reuse Factor: "1"
|-
! [[Enhanced Data Rates for GSM Evolution#EDGE Evolution|EDGE Evolution]]
| [[GSM]] || Mobile&nbsp;Internet || [[Time division multiple access|TDMA]]/[[Frequency division duplex|FDD]] || 0.2 || 0.2 || [[3GPP]] Release 7
|-
! [[UMTS]] W-CDMA<br />[[HSDPA]]+[[HSUPA]]<br />[[HSPA+]]
| [[UMTS|UMTS/3GSM]] || General 3G || [[CDMA]]/[[Frequency division duplex|FDD]]<br /><br />CDMA/FDD/[[MIMO]] || 0.384<br />14.4<br />56 || 0.384<br />5.76<br />22 || [[List of HSDPA networks|HSDPA widely deployed]]. Typical downlink rates today 2 Mbit/s, ~200 kbit/s uplink; HSPA+ downlink up to [[HSPA+|56 Mbit/s]].
|-
! [[UMTS-TDD]]
| UMTS/3GSM || Mobile Internet || [[Code Division Multiple Access|CDMA]]/[[Time division duplex|TDD]] || 16 || 16 || Reported speeds according to [http://www.ipwireless.com/technology/ IPWireless] using 16QAM modulation similar to [[HSDPA]]+[[HSUPA]]
|-
! [[1xRTT]]
| [[CDMA2000]] || Mobile phone || [[Code Division Multiple Access|CDMA]] || 0.144 || 0.144 || Succeeded by EV-DO for data use, but still is used for voice and as a failover for EV-DO
|-
! [[EV-DO]]&nbsp;1x&nbsp;Rev.&nbsp;0<br />EV-DO&nbsp;1x&nbsp;Rev.A<br />EV-DO&nbsp;Rev.B
| CDMA2000 || Mobile Internet || [[Code Division Multiple Access|CDMA]]/[[Frequency division duplex|FDD]] || 2.45<br />3.1<br />4.9xN || 0.15<br />1.8<br />1.8xN || Rev B note: N is the number of 1.25 MHz chunks of spectrum used. EV-DO is not designed for voice, and requires a fallback to 1xRTT when a voice call is placed or received.
|-
|}
เพิ่มเติม : ข้อมูลความเร็วข้างต้นเป็นความเร็วสูงสุดทางทฤษฎีและอาจขึ้นอยู่กับการใช้งานเสาสัญญาณภายนอก ระยะห่างระหว่างเสาสัญญาณ การเคลื่อนที่ของอุปกรณ์ ข้อจำกัดของเทคโนโลยี ขนาดของย่านความถี่ และอื่นๆ
เพิ่มเติม : ข้อมูลความเร็วข้างต้นเป็นความเร็วสูงสุดทางทฤษฎีและอาจขึ้นอยู่กับการใช้งานเสาสัญญาณภายนอก ระยะห่างระหว่างเสาสัญญาณ การเคลื่อนที่ของอุปกรณ์ ข้อจำกัดของเทคโนโลยี ขนาดของย่านความถี่ และอื่นๆ


บรรทัด 81: บรรทัด 36:
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.ee.eng.chula.ac.th/ngn/index.php?option=com_phocadownload&view=category&id=1:download-ngn&download=2:3gpp-lte&Itemid=60 4g]
* [http://www.ee.eng.chula.ac.th/ngn/index.php?option=com_phocadownload&view=category&id=1:download-ngn&download=2:3gpp-lte&Itemid=60 4g]
* [http://www.ee.eng.chula.ac.th/ngn/index.php?option=com_phocadownload&view=category&id=1:download-ngn&download=2:3gpp-lte&Itemid=60 g]
{{มาตรฐานโทรศัพท์มือถือ}}
{{มาตรฐานโทรศัพท์มือถือ}}



รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:09, 9 ธันวาคม 2559

4G (สี่จี หรือ โฟร์จี) กล่าวถึงมาตรฐานโทรศัพท์มือถือที่เป็นรุ่นมาตรฐานที่ต่อจาก 3G และ 2G ซึ่งทรูมูฟเอชเปิดตัวไปเมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2556[1] ซึ่ง 4G จะสามารถเล่นบนคลื่นความถี่ 2100 2500 และ 2600 ขึ้นอยู่กับภูมิภาคและผู้ให้บริการ ในขณะนี้ประเทศไทยได้มีแค่การรับรองมาตรฐานบนคลื่นความถี่ 2100 เท่านั้น ดีแทคเปิดตัวไปเมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 รุดหน้าเปิดบริการ 4G LTE จะสามารถเล่นบนคลื่นความถี่ 2100 2500 และ 2600 คลื่นความถี่ 1800 ซึ่งเอไอเอส 4 จี แอดวานซ์ เปิดตัวไปเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2558


การประกาศ

IMT Advanced ที่กำหนดโดยไอทียู ที่มีข้อกำหนดว่า อัตราความเร็วในการส่งข้อมูลต้องมีค่าข้อมูลสูงสุดที่ 100 Mbit/s ในช่วง high mobility และ 1 Gbit/s ในช่วง low mobility [2]

เทคโนโลยี LTE ถูกเรียกแทน "4G" โดยแตกต่างกันออกไปเช่น "3.9G" แม้กระนั้นมาตรฐาน LTE ในปี 2552 ยังไม่สอดคล้องกับมาตรฐานของทาง "IMT-Advanced" โดยมีการพัฒนาเป็น LTE Advanced ปรับปรุงการใช้งาน [3]

ในขณะเดียวกันได้มีการพัฒนา IEEE 802.16m WiMax 4G เช่นกัน[4]

การพัฒนา

การพัฒนาได้มีการจัดทำที่ประเทศสวีเดนและนอร์เวย์ [5] และเริ่มมีการใช้จริงใน ประเทศอเมริกาโดยบริษัท Sprintโดยมีระบบโทรศัพท์มือถือที่ใช้ระบบไร้สาย WiMax มีความเร็วสูงสุดที่ 10 Mbit/s[6]

และในประเทศ สวีเดน บริษัท TeliaSonera ได้มีการขยายการให้บริการไปยังกรุงสตอกโฮล์ม ประเทศสวีเดน และกรุงออสโล ประเทศนอร์เวย์

1.สามารถส่งข้อมูลในรูปแบบมัลติมีเดียได้อย่างรวดเร็ว[7] 2.แบนด์วิดท์ที่กว้างกว่าเดิม ทำให้มีอัตราความเร็วในการรับ-ส่งที่มากกว่า 3G 3.สามารถใช้งานได้ทั่วโลก 4.ค่าใช้จ่ายถูกลงกว่าเดิม 5.การลงทุนของโครงข่ายคุ้มค่ามากขึ้น

ระบบความเข้ากันได้

เพิ่มเติม : ข้อมูลความเร็วข้างต้นเป็นความเร็วสูงสุดทางทฤษฎีและอาจขึ้นอยู่กับการใช้งานเสาสัญญาณภายนอก ระยะห่างระหว่างเสาสัญญาณ การเคลื่อนที่ของอุปกรณ์ ข้อจำกัดของเทคโนโลยี ขนาดของย่านความถี่ และอื่นๆ

ดูเพิ่ม

รายการอ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น