ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชาลส์ ดาร์วิน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 41: บรรทัด 41:
ดาร์วินได้รับยกย่องในฐานะนักวิทยาศาสตร์โดยมีการจัดพิธีศพอย่างเป็นทางการใน[[มหาวิหารเวสต์มินสเตอร์]] และฝังร่างของเขาไว้เคียงข้างกับ[[จอห์น เฮอร์เชล]] และ [[ไอแซก นิวตัน]]<ref name=DarwinsBurial>{{Harvnb|Leff|2000|loc=[http://www.aboutdarwin.com/darwin/burial.html Darwin's Burial]}}</ref> เขาได้รับยกย่องว่าเป็นหนึ่งในบุคคลผู้ทรงอิทธิพลที่สุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ<ref>{{cite news|url=http://www.newscientist.com/special/darwin-200|title=Special feature: Darwin 200|accessdate=2 April 2011 | work=New Scientist}}</ref><ref>{{cite book| last = Hart| first = Michael H.| author-link = Michael H. Hart| year = 2000| title = The 100: A Ranking of the Most Influential Persons in History| publication-place = New York| publisher = Citadel|ref=harv| isbn = 0-89104-175-3}}</ref>
ดาร์วินได้รับยกย่องในฐานะนักวิทยาศาสตร์โดยมีการจัดพิธีศพอย่างเป็นทางการใน[[มหาวิหารเวสต์มินสเตอร์]] และฝังร่างของเขาไว้เคียงข้างกับ[[จอห์น เฮอร์เชล]] และ [[ไอแซก นิวตัน]]<ref name=DarwinsBurial>{{Harvnb|Leff|2000|loc=[http://www.aboutdarwin.com/darwin/burial.html Darwin's Burial]}}</ref> เขาได้รับยกย่องว่าเป็นหนึ่งในบุคคลผู้ทรงอิทธิพลที่สุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ<ref>{{cite news|url=http://www.newscientist.com/special/darwin-200|title=Special feature: Darwin 200|accessdate=2 April 2011 | work=New Scientist}}</ref><ref>{{cite book| last = Hart| first = Michael H.| author-link = Michael H. Hart| year = 2000| title = The 100: A Ranking of the Most Influential Persons in History| publication-place = New York| publisher = Citadel|ref=harv| isbn = 0-89104-175-3}}</ref>


หเพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพ
== ประวัติ ==

=== วัยเด็กและวัยเรียน ===
[[ไฟล์:Charles Darwin 1816.jpg|thumb|left|upright|ชาลส์ ดาร์วิน วัยเจ็ดขวบ เมื่อปี ค.ศ. 1816]]

ชาลส์ โรเบิร์ต ดาร์วิน เกิดที่เมือง[[ชรูซบรี]] [[ชรอพเชอร์]] [[ประเทศอังกฤษ]] เมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1809 ที่บ้านของตระกูล คือเดอะเมานท์<ref>{{cite web|url=http://darwin.baruch.cuny.edu/biography/shrewsbury/mount/|title=The Mount House, Shrewsbury, England (Charles Darwin)|author=John H. Wahlert|date=11 June 2001|work=Darwin and Darwinism|publisher=[[Baruch College]]|accessdate=2008-11-26}}</ref> เขาเป็นบุตรคนที่ห้าในจำนวนทั้งหมด 6 คนของครอบครัวที่มีฐานะร่ำรวยและมีชื่อเสียงครอบครัวหนึ่งของอังกฤษ บิดาของดาร์วินเป็นนายแพทย์ชื่อว่า [[โรเบิร์ต วอริง ดาร์วิน]] มารดาชื่อ ซูซานนา ดาร์วิน (สกุลเดิม เวดจ์วูด) เขาเป็นหลานของ[[เอรัสมัส ดาร์วิน]] กับ [[โจสิอาห์ เวดจ์วูด]] ทั้งสองตระกูลนี้เป็นคริสตชนยูนิทาเรียน (Unitarian) ผู้เคร่งครัดที่เชื่อว่ามีพระเจ้าเพียงองค์เดียว แต่ตัวโรเบิร์ต ดาร์วิน นั้นเป็นคนหัวเสรี และให้ชาลส์บุตรชายไปรับศีลในโบสถ์ของนิกายแองกลิกัน แต่ชาลส์กับพี่น้องก็ไปเข้าโบสถ์ของยูนิทาริสต์กับมารดา เมื่อชาลส์อายุ 8 ขวบ ได้หลงใหลในประวัติศาสตร์ธรรมชาติและเริ่มสะสมสิ่งต่างๆ เมื่อเขาเข้าโรงเรียนเมื่อปี ค.ศ. 1817 มารดาของเขาเสียชีวิตเมื่อเดือนกรกฎาคมปีนั้น นับจากเดือนกันยายน ค.ศ. 1818 เขาก็ไปอยู่ประจำที่โรงเรียนซรูซบรีอันเป็นโรงเรียนนิกายแองกลิกัน กับพี่ชายของตนคือ เอรัสมัส อัลวีย์ ดาร์วิน<ref name=skool>{{Harvnb|Desmond|Moore|1991|pp= 12–15}}<br />{{harvnb|Darwin|1958|pp=[http://darwin-online.org.uk/content/frameset?viewtype=text&itemID=F1497&pageseq=21 21–25]}}</ref>

ช่วงฤดูร้อนปี ค.ศ. 1825 ดาร์วินใช้เวลาเป็นผู้ช่วยแพทย์ฝึกหัด โดยช่วยบิดาของตนในการรักษาคนยากจนในชรอพเชอร์ ก่อนจะเข้าเรียนวิทยาลัยแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเอดินเบอระ พร้อมกับเอรัสมัสพี่ชาย ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1825 แต่ดาร์วินกลับเห็นชั่วโมงบรรยายเป็นสิ่งน่าเบื่อ ทั้งไม่ชอบการผ่าตัด จึงไม่เอาใจใส่การเรียน เขาเรียนวิธีสตาร์ฟสัตว์ตายจาก [[จอห์น เอ็ดมอนสโตน]] ทาสผิวดำที่ได้เป็นไทซึ่งร่วมงานอยู่กับ[[ชาลส์ วอเทอร์ทัน]]ในป่าดงดิบตอนใต้ของอเมริกา และมักจะนั่งคุยกับ "ชายผู้เฉลียวฉลาดและน่าคบหา" คนนี้อยู่เป็นประจำ<ref name=eddy>{{harvnb|Darwin|1958|pp=[http://darwin-online.org.uk/content/frameset?viewtype=text&itemID=F1497&pageseq=48 47–51]}}</ref>

เมื่อขึ้นปีสอง ดาร์วินเข้าร่วมสมาคมพลิเนียน (Plinian Society) ซึ่งเป็นกลุ่มศึกษาด้านประวัติศาสตร์ธรรมชาติในมหาวิทยาลัยเอดินเบอระ เขาช่วยเหลือโรเบิร์ต เอ็ดมอนด์ แกรนท์ ในการสำรวจศึกษาลักษณะทางกายภาพและวงจรชีวิตของสัตว์ทะเลที่ไม่มีกระดูกสันหลังใน[[เฟิร์ธออฟฟอร์ธ]] วันที่ 27 มีนาคม ค.ศ. 1827 เขานำเสนอการค้นพบของตนต่อสมาคมพลิเนียนว่า จุดสีดำที่พบในเปลือกหอยนางรมนั้นเป็นไข่ของปลิง วันหนึ่ง แกรนท์ยกย่องแนวคิดเรื่องวิวัฒนาการของ [[ชอง-แบบติสต์ ลามาร์ค]] (Jean-Baptiste Lamarck) ดาร์วินถึงกับตะลึง แต่ก่อนหน้านั้นเขาเคยอ่านแนวคิดคล้ายคลึงกันนี้จากเอรัสมัสผู้เป็นปู่ และเห็นว่ามันไม่ต่างกัน<ref>{{Harvnb|Browne|1995|pp=72–88}}</ref> ดาร์วินค่อนข้างเบื่อหน่ายกับวิชาประวัติศาสตร์ธรรมชาติของ[[โรเบิร์ต เจมสัน]] ซึ่งวุ่นวายกับ[[ธรณีวิทยา]] รวมถึงการโต้แย้งกันระหว่าง[[ทฤษฎีการเกิดของน้ำ]] (Neptunism) กับ[[ทฤษฎีการเกิดพลูตอน]] (Plutonism) เขาได้เรียนรู้การจัดอันดับของพืช และได้ช่วยงานด้านการเก็บรักษาใน[[รอยัลมิวเซียม]] ซึ่งเป็นหนึ่งในพิพิธภัณฑ์ที่ใหญ่ที่สุดในยุโรปในเวลานั้น<ref>{{Harvnb|Desmond|Moore|1991|pp=42–43}}</ref>

การไม่เอาใจใส่การเรียนแพทย์เช่นนี้ทำให้บิดาของเขาไม่พอใจ ภายหลังจึงส่งเขาไปยังวิทยาลัยไครสต์ มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ เพื่อศึกษาในคณะอักษรศาสตร์สำหรับการเตรียมตัวเข้าบวชในนิกายแองกลิกัน ดาร์วินสอบ''[[ไทรพอส]]'' ไม่ผ่าน จึงสำเร็จการศึกษามาด้วยปริญญาระดับ''ปกติ'' เมื่อเดือนมกราคม ค.ศ. 1828<ref>{{Harvnb|Browne|1995|pp=47–48, 89–91}}</ref> ดาร์วินชอบท่องเที่ยวและกีฬายิงปืนมากกว่าการเล่าเรียน ญาติคนหนึ่งของเขาคือ วิลเลียม ดาร์วิน ฟ็อกซ์ จึงแนะนำให้เขาไปเข้าร่วมชมรมสะสมแมลงเต่าทอง ซึ่งดาร์วินตั้งหน้าตั้งตาร่วมกิจกรรมอย่างกระตือรือร้น จนงานค้นพบของเขาได้รับการตีพิมพ์ใน ''Illustrations of British entomology'' ของ[[เจมส์ ฟรังซิส สตีเฟน]] ดาร์วินกลายเป็นเพื่อนสนิทและผู้ติดตามของศาสตราจารย์ด้านพฤกษศาสตร์ [[จอห์น สตีเฟน เฮนสโลว์]] และได้พบปะกับนักธรรมชาติวิทยาชั้นแนวหน้าหลายคน จนกระทั่งใกล้ถึงการสอบปลายภาค ดาร์วินจึงหันมาสนใจการเรียนแล้วมาชื่นชอบงานเขียนของ[[วิลเลียม พาลีย์]] ''Evidences of Christianity''<ref name=dar57>{{Harvnb|Darwin|1958|pp=[http://darwin-online.org.uk/content/frameset?viewtype=text&itemID=F1497&pageseq=59 57–67]}}</ref> ดาร์วินทำคะแนนได้ดีในการสอบไล่ครั้งสุดท้ายในเดือนมกราคม ค.ศ. 1831 โดยได้ลำดับที่ 10 จาก 178 คนที่อยู่ในหลักสูตรปริญญา''ปกติ''<ref>{{Harvnb|Browne|1995|p=97}}</ref>

ดาร์วินยังต้องอยู่เคมบริดจ์จนกระทั่งเดือนมิถุนายน เขาศึกษางานของพาลีย์ เรื่อง ''[[:en:Natural Theology (Paley)|Natural Theology]]'' ซึ่งทำให้เกิดข้อโต้แย้งเรื่องการออกแบบธรรมชาติจากสิ่งศักดิ์สิทธิ์ โดยอธิบายถึงการปรับตัวของธรรมชาติว่าเป็นการกระทำของพระผู้เป็นเจ้าโดยผ่านกฎของธรรมชาติ<ref name=syd5-7>{{Harvnb|von Sydow|2005|pp=5–7}}</ref> เขาอ่านหนังสือใหม่ของ[[จอห์น เฮอร์เชล]] ซึ่งอธิบายจุดประสงค์สูงสุดของปรัชญาทางธรรมชาติด้วยการทำความเข้าใจกับกฎเกณฑ์เหล่านั้นผ่าน[[การให้เหตุผลโดยอุปนัย]]โดยมีพื้นฐานจากการสังเกต และงานเขียนของ[[อเล็กซานเดอร์ ฟอน ฮัมโบลท์]] เรื่อง ''Personal Narrative'' เกี่ยวกับการเดินทางของวิทยาศาสตร์ ด้วยแรงบันดาลใจจากภายใน ดาร์วินวางแผนจะไปเยือน[[เตเนรีเฟ]]กับเพื่อนร่วมชั้นหลังจากจบการศึกษา เพื่อไปศึกษาประวัติศาสตร์ธรรมชาติในบริเวณภูมิภาคนั้น ระหว่างเตรียมการ เขาเข้าเรียนหลักสูตรธรณีวิทยาของ[[อดัม เซดจ์วิค]] จากนั้นใช้เวลาครึ่งเดือนในช่วงฤดูร้อนเพื่อทำแผนที่ใน[[เวลส์]]<ref name=db>{{Harvnb|Darwin|1958|pp=[http://darwin-online.org.uk/content/frameset?viewtype=text&itemID=F1497&pageseq=69 67–68]}}<br />{{Harvnb|Browne|1995|pp=128–129, 133–141}}</ref> และอีก 1 สัปดาห์กับเพื่อนนักเรียนใน[[บาร์มอธ]] หลังจากนั้นเมื่อเขากลับมาบ้าน จึงได้รับจดหมายฉบับหนึ่งจากเฮนสโลว์เสนอให้ดาร์วินเป็นนักธรรมชาติวิทยา (แม้ยังเรียนไม่จบ) โดยใช้ทุนวิจัยของตนเอง ร่วมกับกัปตัน[[โรเบิร์ต ฟิตซ์รอย]] ในการเดินทางร่วมกับ[[เรือหลวงบีเกิล]]ที่กำลังจะออกเดินทางไปยังชายฝั่งอเมริกาใต้ภายในเวลา 4 สัปดาห์<ref>{{cite web|url=http://www.darwinproject.ac.uk/darwinletters/calendar/entry-105.html|title=Darwin Correspondence Project – Letter 105 — Henslow, J. S. to Darwin, C. R., 24 Aug 1831|accessdate=2008-12-29}}</ref> บิดาของเขาไม่เห็นด้วยกับการต้องออกเดินทางไปถึง 2 ปี ด้วยเห็นว่าเป็นการเสียเวลาเปล่า แต่จากการเกลี้ยกล่อมของ [[โจซิอาห์ เวดจ์วูดที่ 2|โจซิอาห์ เวดจ์วูด]] ผู้เป็นน้องเขย จึงได้ยินยอมให้ดาร์วินร่วมเดินทางได้<ref>{{Harvnb|Desmond|Moore|1991|pp= 94–97}}</ref>

=== การเดินทางกับเรือบีเกิล ===

[[ไฟล์:Voyage of the Beagle.jpg|thumb|300px|เส้นทางการเดินทางสำรวจของเรือหลวงบีเกิล]]

การเดินทางเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 27 ธันวาคม ค.ศ. 1831 และใช้เวลาเดินทางรวมทั้งสิ้น 5 ปี ขณะที่เรือหลวงบีเกิลทำการสำรวจและทำแผนที่ชายฝั่งอเมริกาใต้นั้น ดาร์วินใช้เวลาส่วนใหญ่อยู่บนฝั่งเพื่อสำรวจด้านธรณีวิทยาและเก็บสะสมตัวอย่างสำหรับการศึกษาประวัติศาสตร์ สมดังที่ที่ฟิตซ์รอยตั้งใจไว้<ref name=JvW/><ref name=kix>{{harvnb|Keynes|2000|pp=[http://darwin-online.org.uk/content/frameset?viewtype=text&itemID=F1840&pageseq=12 ix–xi]}}</ref> เขาเขียนบันทึกผลการสังเกตการณ์และการคาดเดาทางทฤษฎีอย่างละเอียด ระหว่างช่วงหยุดพัก ดาร์วินส่งของตัวอย่างกลับไปยังเคมบริดจ์ พร้อมกับจดหมายซึ่งมีสำเนาบันทึกงานเขียน ''การเดินทางของบีเกิล'' ([[The Voyage of the Beagle]]) ไปให้ครอบครัวด้วย<ref>{{Harvnb|van Wyhe|2008b|pp=18–21}}</ref> ดาร์วินค่อนข้างเชี่ยวชาญด้านธรณีวิทยา รวมถึงการสะสมเต่าทอง และการผ่าตัดศึกษาสัตว์ทะเล แต่ในสาขาอื่นๆ แล้วเขาแทบไม่รู้อะไรเลย และเก็บตัวอย่างเอาไว้เพื่อส่งต่อไปให้ผู้เชี่ยวชาญอื่นตรวจสอบ<ref name=fnGal>{{cite web|url=http://darwin-online.org.uk/EditorialIntroductions/Chancellor_Keynes_Galapagos.html|title=Darwin's field notes on the Galapagos: 'A little world within itself'|author=Gordon Chancellor|coauthors=Randal Keynes|month=October| year=2006|publisher=Darwin Online|accessdate=2009-09-16}}</ref> ดาร์วินเมาคลื่นมาก แต่กระนั้นก็ยังเขียนหนังสือมากมายขณะอยู่ในเรือ งานเขียนเชิงสัตววิทยาส่วนใหญ่เกี่ยวกับสัตว์ทะเลที่ไม่มีกระดูกสันหลัง เริ่มจาก[[แพลงตอน]]ซึ่งเก็บได้ระหว่างช่วงทะเลสงบ<ref name=kix/><ref name=plankton>{{Harvnb|Keynes|2001|pp=[http://darwin-online.org.uk/content/frameset?itemID=F1925&viewtype=text&pageseq=53 21–22]}}</ref>

เมื่อเรือหยุดพักครั้งแรกที่ [[:en:Santiago, Cape Verde|St. Jago]] ดาร์วินพบว่าแถบสีขาวที่อยู่ด้านบน[[หินภูเขาไฟ]]นั้นมีเปลือกหอยอยู่ด้วย ฟิตซ์รอยมอบหนังสือเล่มแรกในชุด ''Principles of Geology'' ของ [[Charles Lyell]] ให้เขาเพื่อศึกษาแนวคิด[[หลักความเป็นเอกภาพ]] (Uniformitarianism) ของผืนดินที่ค่อยๆ ดันตัวขึ้นหรือถล่มลงหลังจากเวลาผ่านไปนานๆ{{Ref_label|B|II|none}} ดาร์วินเห็นเช่นเดียวกับ Lyell และได้เริ่มทฤษฎีและคิดจะเขียนหนังสือเกี่ยวกับธรณีวิทยา<ref>{{Harvnb|Browne|1995|pp=183–190}}</ref> ดาร์วินดีใจมากที่พบ[[ป่าเขตร้อน]]ที่[[บราซิล]]<ref>{{harvnb|Keynes|2001|pp=[http://darwin-online.org.uk/content/frameset?viewtype=text&itemID=F1925&pageseq=73 41–42]}}</ref> แต่ก็ไม่ชอบใจที่พบเห็นการใช้งาน[[ทาส]]ที่นั่น<ref>{{harvnb|Darwin|1958|pp=[http://darwin-online.org.uk/content/frameset?viewtype=text&itemID=F1497&pageseq=75 73–74]}}</ref>

ที่ [[Punta Alta]] ใน [[Patagonia]] เขาได้ค้นพบครั้งใหญ่คือกระดูกฟอสซิลของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่ที่สูญพันธุ์ไปแล้วในหุบเขา ข้างกันกับเปลือกหอยใหม่ๆ ซึ่งบ่งชี้ว่าเป็นการสูญพันธุ์เมื่อไม่นานมานี้โดยที่ไม่มีร่องรอยการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศหรือหายนะภัยใดๆ เลย เขาแยกแยะว่าซากนั้นคือ ''[[Megatherium]]'' โดยดูจากฟันและความสัมพันธ์ของโครงกระดูกซึ่งในตอนแรกเขาคิดว่าดูเหมือน [[armadillo]] ในท้องถิ่นที่มีขนาดยักษ์ การค้นพบนี้กลายเป็นจุดสนใจอย่างมากเมื่อพวกเขากลับไปยังอังกฤษ<ref>{{Harvnb|Browne|1995|pp= 223–235}}<br />{{Harvnb|Darwin|1835|p=[http://darwin-online.org.uk/content/frameset?itemID=F1&viewtype=text&pageseq=7 7]}}<br />{{Harvnb|Desmond|Moore|1991|p= 210}}</ref><ref name=k206>{{harvnb|Keynes|2001|pp=[http://darwin-online.org.uk/content/frameset?viewtype=text&itemID=F1925&pageseq=138 206–209]}}</ref> ขณะขี่ม้าไปกับพวก[[กอโช]] (gaucho) สู่ด้านในแผ่นดินเพื่อสำรวจทางธรณีวิทยาและเก็บรวบรวมฟอสซิลเพิ่มขึ้น เขาได้รับมุมมองด้านสังคม การเมือง และ[[มานุษยวิทยา]] ในหมู่ชนพื้นเมืองกับชาวอาณานิคมในยุคของการปฏิวัติ และได้เรียนรู้ว่านก rhea สองชนิดนั้นอยู่แยกกันแต่มีอาณาเขตที่คาบเกี่ยวกัน<ref>{{Harvnb|Desmond|Moore|1991|pp= 189–192, 198}}</ref><ref>{{Harvnb|Eldredge|2006}}</ref> ยิ่งสำรวจไกลลงไปทางใต้ เขาแลเห็นที่ราบลดหลั่นกันเป็นชั้น เต็มไปด้วยกรวดและเปลือกหอยเหมือนกับชายหาดที่ยกตัวขึ้นมา เขาอ่านหนังสือเล่มที่ 2 ของ Lyell และยอมรับมุมมองว่าด้วย "ศูนย์กลางการสร้างสรรค์" ของสปีชีส์ แต่การค้นพบของเขากับทฤษฎีที่คิดขึ้นมานั้นท้าทายต่อแนวคิดของ Lyell ว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องราบรื่น กับการสูญพันธุ์ของบางสปีชีส์<ref>{{Harvnb|Desmond|Moore|1991|pp= 131, 159}}<br />{{harvnb|Herbert|1991|pp=[http://darwin-online.org.uk/content/frameset?viewtype=text&itemID=A342&pageseq=16 174–179]}}</ref><ref name=HurrahChiloe>{{cite web|url= http://darwin-online.org.uk/EditorialIntroductions/Chancellor_fieldNotebooks1.8.html|title=Darwin Online: 'Hurrah Chiloe': an introduction to the Port Desire Notebook|accessdate=2008-10-24}}</ref>

=== การริเริ่มทฤษฎีวิวัฒนาการ ===
{{โครงส่วน}}

=== ชีวิตสมรสและช่วงเจ็บป่วย ===
{{โครงส่วน}}

=== ช่วงสุดท้ายของชีวิต ===
หนังสือเล่มสุดท้ายก่อนที่ดาร์วินจะเสียชีวิตในวันที่ [[19 เมษายน]] [[ค.ศ. 1882]] ศพของเขาถูกฝังอยู่ที่[[แอบบีเวสต์มินสเตอร์|วิหารเวสต์มินสเตอร์]] ผลงานหนังสือที่ตีพิมพ์ของดาร์วินเป็นผลงานที่มีประโยชน์อย่างมากทั้งทาง[[ชีววิทยา]] และ[[มานุษยวิทยา]] โดยเฉพาะ[[ทฤษฎีวิวัฒนาการ]]ถือได้ว่าเป็นก้าวสำคัญในวงการชีววิทยา


== ผลงาน ==
== ผลงาน ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:32, 5 มกราคม 2559

ชาลส์ ดาร์วิน
Three quarter length studio photo showing Darwin's characteristic large forehead and bushy eyebrows with deep set eyes, pug nose and mouth set in a determined look. He is bald on top, with dark hair and long side whiskers but no beard or moustache. His jacket is dark, with very wide lapels, and his trousers are a light check pattern. His shirt has an upright wing collar, and his cravat is tucked into his waistcoat which is a light fine checked pattern.
ชาลส์ ดาร์วิน ในวัย 45 ปี
เกิด12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1809(1809-02-12)
Mount House, ชรูสบรี, ชร็อพไชร์, อังกฤษ
เสียชีวิต19 เมษายน ค.ศ. 1882(1882-04-19) (73 ปี)
Down House, Downe, เคนท์, อังกฤษ
สัญชาติอังกฤษ
พลเมืองอังกฤษ
ศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยเอดินเบอระ
มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์
มีชื่อเสียงจากThe Voyage of the Beagle
On the Origin of Species
Natural selection
รางวัลRoyal Medal (1853)
Wollaston Medal (1859)
Copley Medal (1864)
อาชีพทางวิทยาศาสตร์
สาขาประวัติศาสตร์ธรรมชาติ
สถาบันที่ทำงานGeological Society of London
อาจารย์ที่ปรึกษาJohn Stevens Henslow
Adam Sedgwick
มีอิทธิพลต่อAlexander von Humboldt
John Herschel
Charles Lyell
ได้รับอิทธิพลจากJoseph Dalton Hooker
Thomas Henry Huxley
George Romanes
Ernst Haeckel
ลายมือชื่อ
"Charles Darwin", with the surname underlined by a downward curve that mimics the curve of the initial "C"

ชาลส์ โรเบิร์ต ดาร์วิน (อังกฤษ: Charles Robert Darwin FRS; 12 ก.พ. ค.ศ. 180919 เม.ย. ค.ศ. 1882) เป็นนักธรรมชาติวิทยาชาวอังกฤษ ผู้ทำการปฏิวัติความเชื่อเดิม ๆ เกี่ยวกับที่มาของสิ่งมีชีวิต และเสนอทฤษฎีซึ่งเป็นทั้งรากฐานของทฤษฎีวิวัฒนาการสมัยใหม่ และหลักการพื้นฐานของกลไกการคัดเลือกโดยธรรมชาติ (natural selection) เขาตีพิมพ์ข้อเสนอของเขาในปี ค.ศ. 1859 ในหนังสือชื่อ The Origin of Species (กำเนิดของสรรพชีวิต) ซึ่งเป็นผลงานที่มีชื่อเสียงที่สุดของเขา ผลงานนี้ปฏิเสธแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ทั้งหมดที่เคยมีมาก่อนหน้านี้เกี่ยวกับการกลายพันธุ์ของสปีชีส์[1][2] ช่วงคริสต์ทศวรรษ 1870 ชุมชนวิทยาศาสตร์และสาธารณชนส่วนมากจึงยอมรับทฤษฎีวิวัฒนาการในฐานะที่เป็นความจริง อย่างไรก็ดี ยังมีคำอธิบายที่เป็นไปได้ทางอื่นๆ อีก และยังไม่มีการยอมรับทฤษฎีนี้เป็นเอกฉันท์ว่าเป็นกลไกพื้นฐานของวิวัฒนาการ ตราบจนกระทั่งเกิดแนวคิดการสังเคราะห์วิวัฒนาการยุคใหม่ (modern evolutionary synthesis) ขึ้นในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1930-1950[3][4] การค้นพบของดาร์วินยังถือเป็นรูปแบบการควบรวมทางทฤษฏีของศาสตร์เกี่ยวกับชีวิต ที่อธิบายถึงความหลากหลายทางชีวภาพของสิ่งมีชีวิต[5][6]

ความสนใจเกี่ยวกับธรรมชาติตั้งแต่วัยเด็กทำให้ดาร์วินไม่สนใจการศึกษาวิชาแพทย์ในมหาวิทยาลัยเอดินเบอระเลย แต่กลับหันไปช่วยการตรวจสอบสัตว์น้ำที่ไม่มีกระดูกสันหลัง เมื่อศึกษาที่มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ได้ช่วยกระตุ้นความหลงใหลในวิทยาศาสตร์ธรรมชาติมากขึ้น[7] การเดินทางออกไปยังท้องทะเลเป็นเวลา 5 ปีกับเรือบีเกิล (HMS Beagle) และโดยเฉพาะการเฝ้าสำรวจที่หมู่เกาะกาลาปากอส เป็นทั้งแรงบันดาลใจ และให้ข้อมูลจำนวนมาก ซึ่งเขานำมาใช้ในทฤษฎีของเขา ผลงานตีพิมพ์เรื่อง การผจญภัยกับบีเกิล (The Voyage of the Beagle) ทำให้เขามีชื่อเสียงในฐานะนักเขียน[8]

ด้วยความพิศวงกับการกระจายตัวของสิ่งมีชีวิตในภูมิภาคที่แตกต่างกัน กับฟอสซิลที่เขาสะสมมาระหว่างการเดินทาง ดาร์วินเริ่มการศึกษาอย่างละเอียด และในปี ค.ศ. 1838 จึงได้สรุปเป็นทฤษฎีการคัดเลือกตามธรรมชาติ[9] แม้ว่าเขาจะอภิปรายแนวคิดของตนกับนักธรรมชาติวิทยาหลายคน แต่ก็ยังต้องการเวลาเพื่อการวิจัยเพิ่มเติม โดยให้ความสำคัญกับงานด้านธรณีวิทยา[10] เขาเขียนทฤษฎีของตนขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1858 เมื่อ อัลเฟรด รัสเซล วอลเลซ ส่งบทความชุดหนึ่งที่อธิบายแนวคิดเดียวกันนี้มาให้เขา และทำให้เกิดการรวมงานตีพิมพ์ของทฤษฎีทั้งสองนี้เข้าด้วยกันในทันที[11] งานของดาร์วินทำให้เกิดวิวัฒนาการสืบเนื่องต่อมา โดยดัดแปลงมาเป็นคำอธิบายทางวิทยาศาสตร์ที่มีอิทธิพลยิ่งต่อแนวคิดเรื่องความหลากหลายทางชีววิทยาในธรรมชาติ[3] ในปี ค.ศ. 1871, เขาได้ตรวจดู วิวัฒนาการของมนุษย์ และ การคัดเลือกทางเพศ ใน The Descent of Man, and Selection in Relation to Sex ตามด้วย The Expression of the Emotions in Man and Animals. งานวิจัยเกี่ยวกับพืชได้ตีพิมพ์เป็นหนังสือชุดหลายเล่ม ในเล่มสุดท้ายเขาได้ตรวจสอบ ไส้เดือน และอิทธิพลที่มันมีต่อดิน[12]

ดาร์วินได้รับยกย่องในฐานะนักวิทยาศาสตร์โดยมีการจัดพิธีศพอย่างเป็นทางการในมหาวิหารเวสต์มินสเตอร์ และฝังร่างของเขาไว้เคียงข้างกับจอห์น เฮอร์เชล และ ไอแซก นิวตัน[13] เขาได้รับยกย่องว่าเป็นหนึ่งในบุคคลผู้ทรงอิทธิพลที่สุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ[14][15]

หเพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพ

ผลงาน

ทฤษฎีการคัดเลือกโดยธรรมชาติ

บรรพชนมนุษย์ การคัดเลือกทางเพศ และพฤกษศาสตร์

อนุสรณ์

อ้างอิง

  1. Coyne, Jerry A. (2009). Why Evolution is True. Oxford: Oxford University Press. p. 17. ISBN 0-19-923084-6. ในหนังสือ The Origin ดาร์วินเสนอสมมุติฐานใหม่สำหรับการพัฒนา คือความหลากหลายทางชีวภาพและการออกแบบสิ่งมีชีวิต เนื้อหาส่วนใหญ่ในหนังสือนำเสนอหลักฐานซึ่งไม่เพียงสนับสนุนแนวคิดวิวัฒนาการ แต่ในเวลาเดียวกันก็หักล้างลัทธิเกี่ยวกับการสร้างสิ่งมีชีวิต ในยุคของดาร์วินนั้น มีการสนับสนุนหลักฐานประกอบทฤษฎีของเขา แต่ก็ยังไม่มีข้อสรุป
  2. Glass, Bentley (1959). Forerunners of Darwin. Baltimore, MD: Johns Hopkins University Press. p. iv. ISBN 0-8018-0222-9. Darwin's solution is a magnificent synthesis of evidence...a synthesis...compelling in honesty and comprehensiveness {{cite book}}: Cite ไม่รู้จักพารามิเตอร์ว่างเปล่า : |coauthors= (help)
  3. 3.0 3.1 van Wyhe 2008
  4. Bowler 2003, pp. 179, 338, 347
  5. The Complete Works of Darwin Online – Biography. darwin-online.org.uk. Retrieved on 2006-12-15
    Dobzhansky 1973
  6. นักวิชาการดาร์วินชื่อ โจเซฟ คาร์โรล แห่งมหาวิทยาลัยมิสซูรี - เซ็นหลุยส์ เขียนไว้ในคำนำหนังสือของเขาเมื่อคราวตีพิมพ์งานของดาร์วินใหม่ว่า: "The Origin of Species เป็นที่น่าสนใจอย่างยิ่งสำหรับพวกเรา มันเป็นหนึ่งในงานที่ยิ่งใหญ่ที่สุดตลอดกาลเพียงไม่กี่ชิ้น งานซึ่งเปลี่ยนแปลงโลกทัศน์ของพวกเราในระดับรากฐานไปอย่างถาวร ... มันเป็นงานที่รุนแรง แต่ก็คมคาย กระตุ้นจินตนาการ และน่าดึงดูดใจ" Carroll, Joseph, บ.ก. (2003). On the origin of species by means of natural selection. Peterborough, Ontario: Broadview. p. 15. ISBN 1-55111-337-6.
  7. Leff 2000, About Charles Darwin
  8. Desmond & Moore 1991, pp. 210, 284–285
  9. Desmond & Moore 1991, pp. 263–274
  10. van Wyhe 2007, pp. 184, 187
  11. doi:10.1007/BF00351923
    This citation will be automatically completed in the next few minutes. You can jump the queue or expand by hand
  12. Freeman 1977
  13. Leff 2000, Darwin's Burial
  14. "Special feature: Darwin 200". New Scientist. สืบค้นเมื่อ 2 April 2011.
  15. Hart, Michael H. (2000). The 100: A Ranking of the Most Influential Persons in History. New York: Citadel. ISBN 0-89104-175-3. {{cite book}}: |ref=harv ไม่ถูกต้อง (help)

บรรณานุกรม

แหล่งข้อมูลอื่น