ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตะขาบ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว อิโมจิ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 39: บรรทัด 39:
ในประเทศไทย พบทั้งหมด 48 [[species|ชนิด]] (ค.ศ. 2017<ref>{{cite web|url=http://morning-news.bectero.com/m/main.php?m=newsdetail&cname=goodnews-thailand&nid=103001|work=[[เรื่องเล่าเช้านี้]]|date=2017-05-25|accessdate=2017-06-03|title=เรื่องเล่าเช้านี้ - นักวิทย์จุฬาฯค้นพบ 'ตะขาบน้ำตก' ขึ้นบัญชีเป็น 1 ใน 10 สปีชีส์}}{{ลิงก์เสีย|date=กันยายน 2021 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}</ref>)
ในประเทศไทย พบทั้งหมด 48 [[species|ชนิด]] (ค.ศ. 2017<ref>{{cite web|url=http://morning-news.bectero.com/m/main.php?m=newsdetail&cname=goodnews-thailand&nid=103001|work=[[เรื่องเล่าเช้านี้]]|date=2017-05-25|accessdate=2017-06-03|title=เรื่องเล่าเช้านี้ - นักวิทย์จุฬาฯค้นพบ 'ตะขาบน้ำตก' ขึ้นบัญชีเป็น 1 ใน 10 สปีชีส์}}{{ลิงก์เสีย|date=กันยายน 2021 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}</ref>)


== พิษของตะขาบ ==
== พิษของตะขาบ ==😤😳😅🫣🥵🥵🥵💦💦😘🥰☺️☺️
พิษของตะขาบประกอบด้วยสารก่อปฏิกิริยาอักเสบต่อร่างกาย ได้แก่ hydroxytryptamine หรือ cytolysin ทำให้เกิดอาการบวม ปวด แดง ร้อน หากบวมมาก เช่น ที่นิ้วมือหรือนิ้วเท้าอาจกดเส้นเลือด ทำให้นิ้วขาดเลือดมาเลี้ยงจนกระทั่งนิ้วดำ เนื้อตาย ต้องตัดทิ้งได้ โดยทั่วไปพิษตะขาบไม่รุนแรงถึงกับทำให้เสียชีวิต ในบางรายอาจมีอาการแพ้ หรือกระวนกระวาย อาเจียน หัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะ มึนงง ปวดศีรษะ อาจมีการติดเชื้อแบคทีเรียแทรกซ้อนตรงบริเวณที่ถูกกัด อาจเป็นแผลไหม้อยู่ 2-3 วัน มีรายงานการเสียชีวิตในเด็กหญิงฟิลิปปินส์อายุ 7 ปี 1 ราย ที่ถูกตะขาบพันธุ์ ''[[Scolopendra subspinipes]]'' ขนาดยาว 23 เซนติเมตรกัดที่บริเวณศีรษะ
พิษของตะขาบประกอบด้วยสารก่อปฏิกิริยาอักเสบต่อร่างกาย ได้แก่ hydroxytryptamine หรือ cytolysin ทำให้เกิดอาการบวม ปวด แดง ร้อน หากบวมมาก เช่น ที่นิ้วมือหรือนิ้วเท้าอาจกดเส้นเลือด ทำให้นิ้วขาดเลือดมาเลี้ยงจนกระทั่งนิ้วดำ เนื้อตาย ต้องตัดทิ้งได้ โดยทั่วไปพิษตะขาบไม่รุนแรงถึงกับทำให้เสียชีวิต ในบางรายอาจมีอาการแพ้ หรือกระวนกระวาย อาเจียน หัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะ มึนงง ปวดศีรษะ อาจมีการติดเชื้อแบคทีเรียแทรกซ้อนตรงบริเวณที่ถูกกัด อาจเป็นแผลไหม้อยู่ 2-3 วัน มีรายงานการเสียชีวิตในเด็กหญิงฟิลิปปินส์อายุ 7 ปี 1 ราย ที่ถูกตะขาบพันธุ์ ''[[Scolopendra subspinipes]]'' ขนาดยาว 23 เซนติเมตรกัดที่บริเวณศีรษะ



รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:14, 16 พฤศจิกายน 2565

ตะขาบ (พายัพ: จักขาบ; อีสาน: ขี้เข็บ) เป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังที่อยู่ในชั้น Chilopoda จัดอยู่ในไฟลัมอาร์โธรพอด เป็นสัตว์ขาข้อที่พบได้ในเขตร้อนชื้น อาศัยอยู่บนบก มีหลายขนาด ส่วนใหญ่ความยาวของลำตัวตั้งแต่ 3-8 เซนติเมตร (ขนาดใหญ่ที่สุดคือชนิด Scolopendra heros มีความยาว 8-10 นิ้ว) ลำตัวแบนราบ มีปล้อง 15-100 ปล้อง แต่ละปล้องมีขา 1 คู่ ส่วนหัวแยกจากลำตัวชัดเจน มีหนวด 1 คู่ และเขี้ยวพิษ 1 คู่ ซึ่งดัดแปลงมาจากปล้องแรกของลำตัว เขี้ยวพิษเชื่อมต่อกับต่อมพิษ เมื่อกัดเหยื่อจะปล่อยพิษออกมา ทำให้เหยื่อเจ็บปวดและเป็นอัมพาต เมื่อถูกตะขาบกัดจะพบรอยเขี้ยวสองรอย ลักษณะเป็นจุดเลือดออกตรงบริเวณที่ถูกกัด

ตะขาบวางไข่ในที่ชื้นหรือต้นพืช ต้นหญ้า ใช้เวลาในการเจริญเติบโตนานโดยลอกคราบ 10 ครั้ง ตัวเต็มวัยมีอายุ 3-5 ปี ในเวลากลางวันจะซ่อนอยู่ในที่เย็น ๆ เช่น ใต้ก้อนหิน ออกหาเหยื่อในเวลากลางคืน กินแมลงเป็นอาหาร

ในประเทศไทย พบทั้งหมด 48 ชนิด (ค.ศ. 2017[1])

== พิษของตะขาบ ==😤😳😅🫣🥵🥵🥵💦💦😘🥰☺️☺️ พิษของตะขาบประกอบด้วยสารก่อปฏิกิริยาอักเสบต่อร่างกาย ได้แก่ hydroxytryptamine หรือ cytolysin ทำให้เกิดอาการบวม ปวด แดง ร้อน หากบวมมาก เช่น ที่นิ้วมือหรือนิ้วเท้าอาจกดเส้นเลือด ทำให้นิ้วขาดเลือดมาเลี้ยงจนกระทั่งนิ้วดำ เนื้อตาย ต้องตัดทิ้งได้ โดยทั่วไปพิษตะขาบไม่รุนแรงถึงกับทำให้เสียชีวิต ในบางรายอาจมีอาการแพ้ หรือกระวนกระวาย อาเจียน หัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะ มึนงง ปวดศีรษะ อาจมีการติดเชื้อแบคทีเรียแทรกซ้อนตรงบริเวณที่ถูกกัด อาจเป็นแผลไหม้อยู่ 2-3 วัน มีรายงานการเสียชีวิตในเด็กหญิงฟิลิปปินส์อายุ 7 ปี 1 ราย ที่ถูกตะขาบพันธุ์ Scolopendra subspinipes ขนาดยาว 23 เซนติเมตรกัดที่บริเวณศีรษะ

การรักษา

อาการพิษของตะขาบทำได้โดยการทำแผลให้สะอาด ให้ยาแก้ปวดอาจให้ยาปฏิชีวนะและวัคซินป้องกันโรคบาดทะยัก[2]

อ้างอิง

  1. "เรื่องเล่าเช้านี้ - นักวิทย์จุฬาฯค้นพบ 'ตะขาบน้ำตก' ขึ้นบัญชีเป็น 1 ใน 10 สปีชีส์". เรื่องเล่าเช้านี้. 2017-05-25. สืบค้นเมื่อ 2017-06-03.[ลิงก์เสีย]
  2. ห้องสมุด E-LIB : Health Library for Thai : โอ๊ะ...ระวังสัตว์มีพิษ

แหล่งข้อมูลอื่น