ธรรมนูญ 08

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ธรรมนูญ 08 ในขั้นต้นเป็นประกาศที่ลงนามโดย 303 ไชนิส ดิสสิเดนท์ อินเทลลีทอลส์ และนักเคลื่อนไหวเพื่อสิทธิมนุษยชน[1] เผยแพร่เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 2008 ในโอกาสครบรอบ 60 ปี ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน การใช้ชื่อและรูปแบบคล้ายการต่อต้านโซเวียด คือ ธรรมนูญ 77 ที่ออกมาโดยผู้ไม่เห็นด้วยกับประเทศเชโกสโลวาเกีย[2] ตั้งแต่มีการปล่อย ประชาชนมากกว่า 10,000 คน ทั้งในและนอกประเทศจีนต่างลงชื่อในธรรมนูญฉบับนี้[3][4][5]

ความต้องการ[แก้]

ธรรมนูญ 08 มีความต้องการให้ประเทศมีการเปลี่ยนแปลงไปสู่ระบบอิสรภาพทางกฎหมาย 19 ด้าน, เสรีภาพในการตั้งสมาคมและขจัดรัฐพรรคการเมืองเดียว[6]

ความต้องการ:

  1. การแก้ไขรัฐธรรมนูญ
  2. การแยกใช้อำนาจ
  3. ประชาธิปไตยทางนิติบัญญัติ
  4. เสรีภาพทางตุลาการ
  5. การควบคุมสาธารณะโดยข้าราชการ
  6. หลักประกันสิทธิมนุษยชน
  7. การเลือกตั้งอย่างเป็นทางการ
  8. ยกเลิกระบบทะเบียนราษฎร์
  9. เสรีภาพในการตั้งสมาคม
  10. เสรีภาพในการชุมนุม
  11. เสรีภาพในการแสดงออก
  12. เสรีภาพในการรนับถือศาสนา
  13. การศึกษาในเมือง
  14. ตลาดเสรีและการป้องกันทรัพย์สินเอกชน, รวมไปถึงการแปลงหน่วยงานรัฐวิสาหกิจและที่ดิน
  15. การเงินและการปฏิรูปภาษี
  16. ความมั่นคงทางสังคม
  17. การป้องกันสิ่งแวดล้อม
  18. สหพันธ์สาธารณรัฐ
  19. คณะกรรมการตรวจสอบและค้นหาความจริงเพื่อการปรองดอง[7]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Over 5000 people have signed the Charter 08 (《零八宪章》签名已超过5000人)". Boxun. 17 December 2008. สืบค้นเมื่อ 15 December 2008.
  2. Spencer, Richard (9 December 2008). "Chinese dissidents emulate anti-Soviet heroes with Charter 08". Telegraph.co.uk. สืบค้นเมื่อ 10 December 2008.
  3. A Nobel Prize for a Chinese Dissident, The New York Times, September 20, 2010
  4. Why China's leadership should talk to the Charter 08 movement, Washington Post, 30 January 2009.
  5. Small green shoots of rebellion among ordinary Chinese, Irish Times, 31 January 2009.
  6. Macartney, Jane (10 December 2008). "Leading Chinese dissident, Liu Xiaobo, arrested over freedom charter". London: Times Online. สืบค้นเมื่อ 10 December 2008.
  7. Link, Perry. "Charter 08 Translated from Chinese by Perry Link The following text of Charter 08, signed by hundreds of Chinese intellectuals and translated and introduced by Perry Link, Professor of Chinese Literature at the University of California, Riverside". The New York Review of Books. สืบค้นเมื่อ 10 December 2008.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]