ซูม
ประเภท | มหาชน |
---|---|
Traded as |
|
วันที่ก่อตั้ง | 21 เมษายน 2011 |
สำนักงานใหญ่ | แซนโฮเซ (รัฐแคลิฟอร์เนีย) สหรัฐ |
พื้นที่ให้บริการ | ทั่วโลก |
ผู้ก่อตั้ง | เอริก หยวน |
บุคคลสำคัญ | เอริก หยวน (ประธาน & CEO) เคลลี สเตเกิลเบิร์ก (CFO) ปีเตอร์ แกสส์เนอร์ (ผู้อำนวยการ) เจนีน เพโลซี (CMO)[1] |
บริการ | การโทรศัพท์ภาพ แชตออนไลน์ ตู้สาขาโทรศัพท์ |
รายได้ | 2.7 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (ค.ศ. 2021)[2] |
รายได้จากการดำเนินงาน | 660 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ค.ศ. 2020)[3] |
เงินได้สุทธิ | 672 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ค.ศ. 2020)[3] |
สินทรัพย์รวม | 5.298 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (ค.ศ. 2020)[3] |
หุ้นรวม | 3.861 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (ค.ศ. 2020)[3] |
ลูกจ้าง | 2,532 (ค.ศ. 2020) |
เว็บไซต์ | เว็บไซต์ทางการ |
[4] |
ซูม วิดีโอคอมมิวนิเคชันส์ (อังกฤษ: Zoom Video Communications) หรือเรียกย่อว่า ซูม เป็นบริษัทอเมริกันที่ให้บริการซอฟต์แวร์ด้านการประชุมทางไกล และการประชุมออนไลน์ สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่แซนโฮเซ รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐ โดยให้บริการ การประชุมทางไกล การประชุมออนไลน์ แช็ต ความร่วมมือออนไลน์[5] ผ่านทางคอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการวินโดว์และแมคโอเอส และมีบริการผ่านสมาร์ตโฟนและแท็บเลตผ่านทาง ระบบปฏิบัติการไอโอเอสและแอนดรอยด์
ซูมได้ถูกเรียกว่าเป็นซอฟต์แวร์ที่นิยมมากที่สุดในหลายประเทศในด้านประชุมทางไกล โดยมีลักษณะเด่นที่การใช้งานที่ง่ายเมื่อเทียบกับซอฟต์แวร์ประเภทเดียวกัน[6] ตั้งแต่ต้น ค.ศ. 2020 มีการใช้งานซอฟต์แวร์ของซูมเพิ่มขึ้นทั่วโลกหลังจากมีการใช้มาตรการการกักด่านเพื่อหยุดการระบาดทั่วของโควิด-19[7] และมีข้อวิจารณ์หลายอย่างในด้านความปลอดภัยทางคอมพิวเตอร์และความเป็นส่วนตัว[8][9][10]
ประวัติ
[แก้]ซูมก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2554 โดยเอริก ยวน วิศวกรจากบริษัทซิสโกหนึ่งในทีมงานที่พัฒนาซอฟต์แวร์ WebEx[5] โดยซูมเปิดให้บริการครั้งแรกเมื่อ มกราคม พ.ศ. 2556 และในปีเดียวกันเดือนพฤษภาคม มีผู้ใช้งานมากกว่าหนึ่งล้านคน[11]
ผลิตภัณฑ์
[แก้]ซูมให้บริการซอฟต์แวร์สำหรับประชุมออนไลน์ โดยแบ่งเป็นหลายรูปแบบ เช่น
- Zoom Basic ให้บริการฟรี จำนวนเวลาใช้งานครั้งละ 40 นาที และผู้เข้าร่วม 100 คน
- Zoom Pro จำนวนเวลาใช้งานไม่เกิน 24 ชั่วโมง และผู้เข้าร่วม 300 คน
และบริการอื่น
การวิพากษ์วิจารณ์
[แก้]การห้ามใช้งาน
[แก้]จากปัญหาเรื่องความปลอดภัยและความเป็นส่วนตัว หลายหน่วยงานได้มีการประกาศอย่างเป็นทางการในการห้ามใช้งาน อาทิ
- ประเทศแคนาดา (การใช้งานภาครัฐ) [16]
- โรงเรียนรัฐของนครนิวยอร์ก [18]
ดูเพิ่ม
[แก้]รายการอ้างอิง
[แก้]- ↑ "Zoombombing new problematic trend | GMA" – โดยทาง www.youtube.com.
- ↑ Inc, Zoom Video Communications (March 1, 2021). "Zoom Video Communications Reports Fourth Quarter and Fiscal Year 2021 Financial Results". GlobeNewswire News Room.
- ↑ 3.0 3.1 3.2 3.3 "Zoom Video Communications Reports Fourth Quarter and Fiscal Year 2021 Financial Results - Zoom". investors.zoom.us (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2021-03-07.
- ↑ "Zoom Video Communications, Inc. 2019 Form 10-K Annual Report". U.S. Securities and Exchange Commission. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ April 8, 2020. สืบค้นเมื่อ June 11, 2020.
- ↑ 5.0 5.1 Maldow, David S. (27 January 2013). "Zoom's Full Featured UME Videoconferencing Platform Exceeds Expectations". Telepresence Options. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-09-08. สืบค้นเมื่อ 2020-04-10.
- ↑ Novet, Jordan (2020-03-21). "Why Zoom has become the darling of remote workers during the COVID-19 crisis". CNBC. สืบค้นเมื่อ 2020-04-07.
- ↑ Strauss, Valerie (March 20, 2020). "As schooling rapidly moves online across the country, concerns rise about student data privacy". The Washington Post. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ March 31, 2020. สืบค้นเมื่อ March 26, 2020.
- ↑ Morrison, Sara (March 31, 2020). "Zoom responds to its privacy (and porn) problems". Vox Media. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ April 11, 2020. สืบค้นเมื่อ April 7, 2020.
- ↑ Rae, Hodge (2020-04-15). "Timeline of every security issue uncovered in Zoom". CNET. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ April 16, 2020.
- ↑ Lopez, Napier (2020-04-22). "Zoom's 5.0 update helps stop zoombombing and improves encryption". The Next Web. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ May 8, 2020. สืบค้นเมื่อ 2020-04-29.
- ↑ Pleasant, Robbie (23 May 2013). "Zoom Video Communications Reaches 1 Million Participants". TMCnet.
- ↑ Langley, Hugh. "Google has banned the Zoom app from all employee computers over 'security vulnerabilities'". Business Insider.
- ↑ "Google bans its employees from using Zoom over security concerns". msn.com.
- ↑ "Elon Musk's SpaceX bans Zoom over privacy concerns, memo shows". CNBC (ภาษาอังกฤษ). 1 April 2020. สืบค้นเมื่อ 2 April 2020.
NASA, one of SpaceX’s biggest customers, also prohibits its employees from using Zoom, said Stephanie Schierholz, a spokeswoman for the U.S. space agency.
- ↑ "Elon Musk's SpaceX Bans Zoom Over Privacy Concerns - Memo". nytimes.com (ภาษาอังกฤษ). 2 April 2020. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-04-08. สืบค้นเมื่อ 2020-04-10.
- ↑ "Taiwan joins Canada in banning Zoom for government video conferencing". CBC News. 7 April 2020. สืบค้นเมื่อ 2020-04-08.
- ↑ Welle (www.dw.com), Deutsche. "German government restricts use of Zoom over security concerns - reports | DW | 08.04.2020". DW.COM.
- ↑ Harris, Ainsley (5 April 2020). "Zoom banned from New York City schools due to privacy and security flaws". Fast Company. สืบค้นเมื่อ 2020-04-05.
{{cite news}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ Debby Wu; Samson Ellis (7 April 2020). "Taiwan Bans Government Use of Zoom Over Cybersecurity Concerns". Bloomberg L.P. (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 7 April 2020.
Taiwan barred all official use of Zoom, becoming one of the first governments to impose an outright ban on the popular video-conferencing app over security concerns.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- ข้อมูลทางด้านธุรกิจของ Zoom Video Communications, Inc.: