ข้ามไปเนื้อหา

ฉบับร่าง:วัฒนธรรมตื่นรู้

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

วัฒนธรรมตื่นรู้ หรือ woke คือ กลุ่มที่ตืนตัวต่อเรื่อง และการเลือกปฏิบัติ โดยการใช้คำว่า woke นั้น เกิดขึ้นตั้งแต่เมื่อยุค 2010s แล้ว และในปัจจุบันได้กินความไปจนถึง การตระหนักรู้เรื่องความไม่เท่าเทียมกันทางสังคม เช่น เรื่อง ความหลากหลายทางเพศ ชนกลุ่มน้อยในสังคม และ ความเหลื่อมล้ำทางสังคม[1]

กระแสการตื่นรู้

[แก้]

ในสหรัฐอเมริกาก็กระแสของวัฒนธรรมการตื่นรู้ จากเหตุการการเสียชีวิตของจอร์จ ฟลอยด์ ซึ่งเป็นชนวนเหตุการก่อกำเนิดขบวนการ Black Lives Matter ทำให้การตื่นรู้นั้นเกาะกุมจิตใจชาวอเมริกันกลุ่มใหญ่สายเสรีนิยม ซึ่งส่วนมากมักจะเป็นเป็นคนรุ่นใหม่ มีการศึกษาดี และอาศัยในเขตเมือง โดยวัฒนธรรมการตื่นรู้นั่นเกิดจากการเรียกร้องสิทธิของชาวผิวสี ความตื่นรู้ในสหรัฐอเมริกาจึงมุ่งประเด็นความยุติธรรม ความเท่าเทียม และการเคารพสิทธิของคนกลุ่มน้อย รวมไปถึงความหลากหลายทางเพศด้วย [2]

ผลกระทบจากการตื่นรู้

[แก้]

วงการบันเทิง

[แก้]

ผลกระทบจากการตื่นรู้ก็ตกเป็นข่าวใหญ่อีกครั้ง หลังดิสนีย์ ได้ปล่อยตัวอย่างภาพยนตร์ เงือกน้อยผจญภัย ในฉบับคนแสดง ที่นำแสดงโดย ฮัลลี ไบลีย์ นักแสดงหญิงชาว แอฟริกัน-อเมริกัน จนทำให้เกิดกระแสรุนแรงโลกสังคมออนไลน์ โดยมีการปะทะกันทางความคิด ในเรื่องตัวละครบิดเบือนจากต้นฉบับ การยอมรับตัวละครที่เป็นสีผิวอื่นๆ เป็นต้น[3]

ความสุดโต่ง

[แก้]

การตื่นรู้สุดโต่ง ประเด็นนี้ยังเกิดเป็นข้อถกเถียงในสังคมอย่างแพร่หลาย โดยมีคนกลุ่มหนึ่งมองว่าเป็นเรื่องที่สึุดโต่ง แต่คนอีกกลุ่มอาจเห็นว่าถูกต้องแล้ว เช่น การด่าหรือประจานคนที่ไม่ยอมออกมาร่วมเคลื่อนไหวว่าเป็นพวก ignorant[4]

อ้างอิง

[แก้]
  1. เหรียญ 2 ด้านของ “Woke Culture” เมื่อวัฒนธรรมการตื่นรู้ส่งผลกระทบต่อวงการฮอลลีวูด
  2. ว่าด้วย Woke Culture : ยิ่งเคลื่อนไหว ทำไมยิ่งไม่เท่าเทียม
  3. เหรียญ 2 ด้านของ “Woke Culture” เมื่อวัฒนธรรมการตื่นรู้ส่งผลกระทบต่อวงการฮอลลีวูด
  4. ว่าด้วย Woke Culture : ยิ่งเคลื่อนไหว ทำไมยิ่งไม่เท่าเทียม