จันทรุปราคา ตุลาคม พ.ศ. 2556

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จันทรุปราคาเงามัว
18–19 ตุลาคม พ.ศ. 2556
ดวงจันทร์จะสังเกตเห็นได้ว่าสลัวลงขณะที่เคลื่อนผ่านเงามัวทางตอนเหนือของโลก
ประเภทของอุปราคา
ประเภทเงามัว
แกมมา1.1508
ความส่องสว่างเงามัว0.7649
ความส่องสว่างเงามืด–0.2718
ระยะเวลา (ชั่วโมง:นาที:วินาที)
เงามัว04:03:49
เวลา (UTC)
(P1) เริ่มจันทรุปราคาเงามัว21:48:16
บดบังมากที่สุด23:50:14
(P4) สิ้นสุดจันทรุปราคาเงามัว00:52:05
แหล่งอ้างอิง
แซรอส117 (52 จาก 72)
บัญชี # (LE5000)9681

จันทรุปราคาเงามัวเกิดขึ้นในวันที่ 18–19 ตุลาคม พ.ศ. 2556 ซึ่งเป็นอุปราคาครั้งสุดท้ายของอุปราคาสามครั้งในปี พ.ศ. 2556

การมองเห็น[แก้]

อุปราคาครั้งนี้สามารถมองเห็นได้จากทวีปอเมริกา (ตอนใกล้จบปรากฏการณ์) ทวีปยุโรป ทวีปแอฟริกา และส่วนมากของทวีปเอเชีย (ตอนเริ่มต้นปรากฏการณ์สามารถมองเห็นได้จากเอเชียตะวันออก) ส่วนตะวันตกของฟิลิปปินส์ (รวมทั้งเวสเทิร์นลูซอนและปาลาวัน) สามารถมองเห็นจันทรุปราคาได้ขณะดวงจันทร์ตก

แผนที่[แก้]

อุปราคาที่เกี่ยวข้อง[แก้]

จันทรุปราคาหนึ่งจากสี่ครั้งในชุดช่วงสั้น ณ จุดโหนดลงในวงโคจรของดวงจันทร์

ในชุดปีจันทรคติ จะวนซ้ำหลังจาก 12 ลูเนชัน หรือ 354 วัน (เคลื่อนกลับประมาณ 10 วันในปีต่อเนื่องกัน) เนื่องจากการเลื่อนวันที่ เงาของโลกจะอยู่ประมาณ 11 องศาทางตะวันตกในเหตุการณ์ต่อเนื่องกัน

ชุดอนุกรมจันทรุปราคา พ.ศ. 2556–2559
โหนดขึ้น   โหนดลง
ซารอส วันที่มองเห็น ประเภท ซารอส วันที่มองเห็น ประเภท
112
25 เม.ย. 2556
บางส่วน
117 18 ต.ค. 2556
เงามัว
122
15 เม.ย. 2557
เต็มดวง
127
08 ต.ค. 2557
เต็มดวง
132
04 เม.ย. 2558
เต็มดวง
137
28 ก.ย. 2558
เต็มดวง
142 23 มี.ค. 2559
เงามัว
147 16 ก.ย. 2559
เงามัว
ชุดก่อนหน้า 25 พ.ค. 2556 ชุดก่อนหน้า 28 พ.ย. 2555
ชุดถัดไป 11 ก.พ. 2560 ชุดถัดไป 18 ส.ค. 2559

ดูเพิ่ม[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]