การประท้วงในประเทศอาร์มีเนีย พ.ศ. 2561

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
การประท้วงชาวอาร์มีเนีย พ.ศ. 2561
การประท้วงเมื่อวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2561
วันที่12 เมษายน พ.ศ. 2561 – จนถึงปัจจุบัน
(6 ปี 1 สัปดาห์ 4 วัน)
สถานที่อาร์มีเนีย: เยเรวาน, กียุมรี, วายอทส์ซอร์, อโบร์ยัน, เซแวน, อาร์เตอร์ชัค, อมาเวียร์, อตาลัก, เวการ์ชาเปด, เคเปน
ชาวอาร์มีเนียที่อาศัยอยู่ต่างประเทศ: เก็นเดล, รัฐแคลิฟอร์เนีย,[1] มอสโก,[2] มาร์แซย์[3]
สาเหตุผลการเลือกตั้งของแซร์ช ซาร์กเซียนในการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี
เป้าหมาย
  • ตอนแรก: ให้แซร์ช ซาร์กเซียนออกจากการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี[4]
  • ต่อมา: ให้มีการเลือกตั้งสภาใหม่ทันทีโดยไม่ต้องถึงวาระในการเลือกตั้ง[5]
  • ต่อมา: ให้พรรคริพับลิกันไม่มีอำนาจใด ๆ ทั้งสิ้น[6][7]
  • ต่อมา: ขอให้ปชิดยานเป็นรักษาการณ์นายกรัฐมนตรีจนกว่าจะถึงการเลือกตั้งสภาใหม่ทันทีโดยไม่ต้องถึงวาระในการเลือกตั้ง[8]
วิธีการการเดินขบวน, การนั่งประท้วง , การประท้วงของนักเรียน, การดื้อแพ่ง, การเคลื่อนไหวออนไลน์[ต้องการอ้างอิง]
สถานะยังดำเนินอยู่
การยอมผ่อนปรนแซร์ช ซาร์กเซียนได้ประกาศขอลาออกจากการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี
คู่ขัดแย้ง

พรรคปรปักษ์การเมือง

สนับสนุนโดย:

รัฐบาลอาร์มีเนีย

พรรคการเมืองฝ่ายรัฐบาล:

ผู้นำ
ส.ส. นิโคร ปชิดยาด (ถูกคุมขังวันที่ 22 ถึง 23 เมษายน)[12]
แซร์ช ซาร์กเซียน (อดีตประธานาธิบดี, อดีตนายกรัฐมนตรี)
Karen Karapetyan (รักษาการณ์ นายกรัฐมนตรี)
จำนวน
115,000 คน (22 เมษายน)[13]
5,000 คน (ในเมืองเก็นเดล, รัฐแคลิฟอร์เนีย)[14]
บาดเจ็บ
40 คน (วันที่ 16 เมษายน)[15]
ตำรวจ 6 คน (วันที่ 16 เมษายน)[15]

กลุ่มนักการเมืองและประชาชนภายใต้การนำโดย ส.ส. นิโคร ปชินยาด (ผู้นำของพรรคสัญญาพลเรือน) ได้เริ่มขบวนการ การประท้วงต่อต้านรัฐบาลอาร์มีเนีย (หรือรู้จักกันในชื่อทั่วไปว่า #MerzhirSerzhin (อาร์มีเนีย: ՄերժիրՍերժին สำหรับ "#RejectSerzh") เมื่อเดือนเมษายน พ.ศ. 2561 การประท้วงและการเดินขบวนในครั้งนี้เกิดขึ้นหลังจากที่แซร์ช ซาร์กเซียนเข้ารับดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ซึ่งเป็นผู้ที่ทรงอิทธิพลในรัฐบาลของอาร์มีเนียอย่างมาก และยังควบคุมพรรคริพับลิกันอีกด้วย

เมื่อวันที่ 23 เมษายน แซร์ช ซาร์กเซียนได้กล่าวว่า "ผมผิดในขณะที่เขา [นิโคร ปชินยาด] ถูก" แล้วต่อมาเขาก็ได้ขอลาออก[16][17] การประท้วงในครั้งนี้ถือว่าเป็นการปฎิวัติอย่างสันติเมื่อเทียบกับการปฎิวัติของอดีตรัฐในโซเวียต[18][19][20] 25 เมษายน พรรคเออาร์เอฟ-ดชาสุนยัน พรรคพันธมิตรของพรรครีพับลิกันได้ประกาศขอถอนตัวออก[21] ซึ่งหมายถึงสามรถให้ฝ่านค้านรัฐบาลสามารถเข้ารับการเลือกตั้งโดยรัฐสภาแห่งชาติได้

ปฏิกิริยา[แก้]

เมื่อวันที่ 4 เมษายน ผู้นำของพรรคไบร์ทอาร์มีเนีย พร้อมด้วยผู้นำพรรคพลเรือน นิโคร ปชินยาด ได้ร่วมกันเขียนบทความลงในหนังสือพิมพ์อยอนร์ โดยมีข้อความระบุว่า ผมชอบวิธีการจับมือกับประชาชนมากกว่าการตอบโต้แบบทางการ[22]

ผู้นำของพรรคประชาธิบไตย และอดึต ส.ส. คชักเทอ โคโคเบลเยม ได้เข้าร่วมสนับสนุนการประท้วงดังกล่าว [10]

ปฏิกิริยานานาชาติ[แก้]

  •  รัสเซีย โฆษกประจำกระทรวงต่างประเทศรัสเซีย ได้กล่าวชื่นชมการปฎิวัติอย่างสันติในครั้งนี้ พร้อมกับบอกว่า "อาร์มีเนีย รัสเซียจะอยู่เคียงข้างเสมอ!"[23] มีหน้าในเว็บไซต์เอฟเอ็มอย่างเป็นทางการ พร้อมระบุว่า: "พวกเราหวังว่าสถานการณ์นี้จะสามารถพัฒนาเป็นพิเศษในด้านกฎหมายและรัฐธรรมนูญ ทั้งนี้กองกำลังทางการเมืองทั้งหมดจะต้องแสดงความรับผิดชอบและความพร้อมสำหรับการเจรจาที่เป็นไปอย่างสร้างสรรค์ เราเชื่อว่าทุกอย่างในประเทศจะต้องกับมาเป็นปกติและพวกเราจำเป็นจะต้องฟื้นฟูสิ่งดีๆ เข้ามาสู่อาร์มีเนีย"[24]
  •  สหรัฐ เมื่อวันที่ 23 เมษายน เอกอัครราชฑูตสหรัฐได้กล่าวชื่นชมสำนักงานตำรวจแห่งชาติอาร์มีเนีย และเหล่าผู้ประท้วงทั้งหลายที่นำโดย ส.ส. นิโคร ปชินยาด ว่าสามารถทำให้ไม่ให้เกิดเหตุนองเลือดได้ ในระหว่างการประท้วงต่อต้านแซร์ช ซาร์กเซียน กระทรวงการต่างประเทศสหรัฐได้แถลงการว่า ผู้นำคนใหม่ของประเทศอาร์มีเนียจะต้องเป็นคนโปร่งใส่ ไม่มีทุจริต และจะต้องปฎิบัติตามรัฐธรรมนูญ ยังมีการกล่าวแถลงการณ์อีกว่า กลุ่มผู้นำทางการเมืองอาร์มีเนียได้วางแผนว่า “จะไม่ก่อเหตุเพิ่มและหลีกเลี่ยงการใช้ความรุนแรง”[25]
  •  สหภาพยุโรป เมื่อวันที่ 24 เมษายน ผู้นำสูงสุดของสหภาพยุโรปได้เดินทางไปยังประเทศอาร์มีเนีย พร้อมได้ตั้งแคมเปญ และยังกล่าวชื่นชอบในการปฎิวัติในครั้งนี้ และได้ให้สัญญากับประชาชนว่าจะเข้มงวดมากขึ้นโดยการปรับปรุง[26]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Thousands of SoCal Armenians protest election results in their homeland". KABC-TV. 23 April 2018.
  2. "В Москве у армянской церкви прошла акция в поддержку протестов в Ереване. Митингующих задержали". meduza (ภาษารัสเซีย). 22 April 2018.
  3. Ghukasyan, Seda (18 April 2018). "Yerevan: "Reject Serzh" Rally Kicks-Off in Republic Square; March To Baghramyan Avenue". Hetq. He claimed that protesters had removed a photo of Serzh Sargsyan hanging in the Armenian Consulate in Marseille and publicly burnt it.
  4. "Armenian PM Sarkisian Resigns After Protest Leader Pashinian Released". RadioFreeEurope/RadioLiberty. สืบค้นเมื่อ 23 April 2018.
  5. Armenian PM Sarkisian Resigns, Thousands Celebrate In Yerevan
  6. Пашинян потребовал «единогласной капитуляции» правящей партии Армении
  7. Armenian Party Quits Ruling Coalition As Pashinian Leads New Protests
  8. Пашинян пообещал не прекращать протесты до назначения премьером Армении
  9. "Opposition MP Nikol Pashinyan discharged from hospital, joins protesters".
  10. 10.0 10.1 "Khachatur Kokobelyan and Party Members Join Nikol Pashinyan's Fight – Aravot newspaper".
  11. "Armenian Police Statement: Those Detaining Citizens in Civilian Dress Are Police Officers". Hetq. 20 April 2018.
  12. "PanARMENIAN.Net - Mobile". panarmenian.net. สืบค้นเมื่อ 23 April 2018.
  13. Kucera, Joshua (22 April 2018). "Armenian opposition leader arrested, but protesters rally". eurasianet.
  14. about, Melissa MacBride, bio (23 April 2018). "SoCal Armenians protest election results in their homeland". ABC7 Los Angeles (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 23 April 2018.
  15. 15.0 15.1 "Հոսպիտալացվել է 46 քաղաքացի, այդ թվում՝ 6 ոստիկան" (ภาษาอาร์เมเนีย). สืบค้นเมื่อ 16 April 2018.
  16. "Премьер-министр Армении Саргсян подал в отставку". РБК. สืบค้นเมื่อ 23 April 2018.
  17. Hairenik (23 April 2018). "Breaking: Serge Sarkisian Resigns as Prime Minister". The Armenian Weekly (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 23 April 2018.
  18. "Armenia's Peaceful Revolution Is a Lesson for Putin". Bloomberg.com (ภาษาอังกฤษ). 23 April 2018. สืบค้นเมื่อ 24 April 2018.
  19. "Armenian Revolution: Russian influence to remain amid power shift" (ภาษาอังกฤษ). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 July 2018. สืบค้นเมื่อ 24 April 2018.
  20. "A 'Color Revolution' In Armenia? Mass Protests Echo Previous Post-Soviet Upheavals". RadioFreeEurope/RadioLiberty (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 24 April 2018.
  21. Armenian Party Quits Ruling coalition As Pashinian Leads New Protests
  22. "Dilemma of quick defeat and long-term but inevitable victory".
  23. "'I Was Wrong': Armenian Leader Quits Amid Protests". New York Times. 23 April 2018.
  24. "Russian foreign ministry emphasizes restoration of public accord in Armenia". arka.am. สืบค้นเมื่อ 26 April 2018.
  25. "U.S. Envoy Hails 'Spirit Of Democracy' In Armenia". «Ազատ Եվրոպա/Ազատություն» ռադիոկայան (ภาษาอาร์เมเนีย). สืบค้นเมื่อ 26 April 2018.
  26. "EU envoy pledges to step up ratification of CEPA". tert.am (ภาษาอังกฤษ). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 January 2019. สืบค้นเมื่อ 26 April 2018.