การประชุมเกสตาโพ-เอ็นเควีดี
Location of the 3rd Gestapo–NKVD conference inside the German torture house in the Polish mountains, the 'Palace' villa in Zakopane today | |
เวลา | |
---|---|
ระยะเวลา | 1939–1940 |
ประเภท | Nazi–Soviet bilateral planning for population exchange and the persecution of Polish nationals in occupied territories |
แก่น | Security police talks |
สาเหตุ | การบุกครองโปแลนด์ในปี ค.ศ. 1939 |
การประชุมเกสตาโพ-เอ็นเควีดี เป็นหนึ่งในการประชุมของตำรวจรักษาความปลอดภัยที่ถูกจัดตั้งขึ้นในช่วงปลายปี ค.ศ. 1939 และต้นปี ค.ศ. 1940 โดยนาซีเยอรมนีและสหภาพโซเวียต ภายหลังจากได้บุกเข้ายึดครองโปแลนด์ในความร่วมมือกันของนาซี-โซเวียต การประชุมครั้งนี้ได้ช่วยให้ทั้งสองฝ่ายได้บรรลุตามเป้าหมายและเป้าหมายที่ได้เฉพาะเจาะจงตามที่ได้ระบุเอาไว้โดยฮิตเลอร์และสตาลิน,ด้วยพิจารณาผลประโยชน์ที่ได้เข้ายึดครองดินแดนโปแลนด์,การประชุมครั้งนี้ได้ถูกจัดตั้งขึ้นโดยเจ้าหน้าที่หน่วยเกสตาโพ ตำรวจลับฝ่ายนาซีและเจ้าหน้าที่หน่วยเอ็นเควีดี (พลาธิการกิจการภายในประชาชน) ตำรวจลับฝ่ายโซเวียตในหลายเมืองของโปแลนด์ ทั้งที่มีความแตกต่างกันในการออกคำสั่งอื่นๆ ไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์และลัฟเรนตีย์ เบรียาต่างก็มีเป้าหมายที่คล้ายคลึงกันกับชะตากรรมของโปแลนด์ที่น่ากังวล
การรุกรานโจมตีโปลแลนด์ได้จบลงด้วยการเดินสวนสนามแห่งชัยชนะของนาซี-โซเวียตในเบรสต์ ซึ่งถูกจัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 22 กันยายน ค.ศ. 1939.เบรสต์ได้เป็นสถานที่ที่ตั้งของการประชุมนาซี-โซเวียตแห่งแรกที่ถูกจัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 27 กันยายน ค.ศ. 1939.ซึ่งในขณะนั้นได้ทำการแลกเปลี่ยนเชลยที่ถูกพิจารณาคดีโทษก่อนเพื่อการลงนามข้อตกลงร่วมกันในมอสโกในวันต่อมา.ในเดือนถัดมา,เกสตาโพและเอ็นเควีดีได้พบปะในลวูฟเพื่อหารือเกี่ยวกับชะตากรรมของพลเรือนในช่วงการปฏิรูปอย่างรุนแรงของผนวกดินแดน.พวกเขาได้พบกันอีกครั้งในเขตภายใต้การยึดครองของ Przemyśl เมื่อปลายเดือนพฤศจิกายน,เพราะ Przemyśl เป็นเขตพรมแดนระหว่างทั้งสองฝ่ายผู้รุกราน.ชุดการประชุมต่อไปได้เริ่มขึ้นในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1939,เดือนภายหลังจากการโยกย้ายเชลยศึกชาวโปแลนด์เป็นครั้งแรก.การประชุมได้ถูกจัดตั้งขึ้นในเขตภายใต้การยึดครองของกรากุฟในรัฐบาลสามัญ เมื่อวันที่ 6-7 ธันวาคม ค.ศ. 1939;และต่อไปอีกสองวันในเมืองรีสอร์ทของ Zakopane ในเทือกเขา Tatra ทางตอนใต้ของโปแลนด์(100 กม.จากกรากุฟ)เมื่อวันที่ 8-9 ธันวาคม ค.ศ. 1939.การประชุมที่ Zakopane ได้เป็นที่จดจำมากที่สุด.จากมุมมองของฝ่ายโซเวียต.เจ้าหน้าที่ระดับสูงหลายคนของหน่วยเอ็นเควีดีได้เข้าร่วมประชุม.ในขณะที่ทางเยอรมันผู้เป็นเจ้าภาพได้มอบหมายให้กลุ่มผู้เชียวชาญจากหน่วยเกสตาโพ.
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 1.2 Józef Dębiński (2007). "Decyzja władz sowieckich z 5 marca 1940 r. o zagładzie polskich jeńców wojennych" [Soviet decision on the murder of Polish prisoners of war]. Voskresenie - Catholic Magazine. Niedziela.pl. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ April 29, 2007. สืบค้นเมื่อ 2017-01-05 – โดยทาง Internet Archive.
Pierwsza konferencja, dotycząca współpracy niemieckich i sowieckich służb bezpieczeństwa, miała miejsce 27 września 1939 r. w Brześciu n. Bugiem. Druga konferencja odbyła się w końcu listopada 1939 r. w Przemyślu, a dotyczyła wymiany jeńców i przemieszczeń ludności. Trzecia konferencja NKWD i Gestapo miała miejsce 20 lutego 1940 r. w Zakopanem.
- ↑ Rees, Laurence (2008). "An alliance in all but name". World War Two Behind Closed Doors. BBC Books. p. 54. ISBN 978-0-563-49335-8. The Gestapo and the NKVD met in Lwów in October 1939.
- ↑ 3.0 3.1 Kalbarczyk (2015). Zbrodnia. p. 19 (33 / 266 in PDF). Earlier historical assessments of the two winter conferences in Kraków and Zakopane suggesting that they might have been devoted to coordinating plans for joint destruction of Polish nationhood as well as discussing ways of dealing with the Polish resistance during World War II have been ruled out in contemporary research in favour of a more probable subject of a mass population transfer.
Nowsze badania przekonująco dowodzą, że hipotezy tego typu nie znajdują potwierdzenia w faktach. Sowiecko-niemieckie konferencje w Krakowie (6–7 grudnia 1939 r.) i Zakopanem (8–9 grudnia 1939 r.), na których – jak uważano w dawniejszej literaturze przedmiotu – uzgadniano antypolskie represje o charakterze policyjnym, były w istocie poświęcone wymianie ludności między ZSRS a III Rzeszą.[page 19]
- ↑ Mark Paul (2006). "Foreword (cooperation between the NKVD and the Gestapo)". Neighbours on the Eve of the Holocaust. Polish-Jewish Relations in Soviet-occupied Eastern Poland, 1939-1941. Electronicmuseum.ca. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ September 26, 2007. สืบค้นเมื่อ 14 September 2015 – โดยทาง Internet Archive.
While the Soviets had undertaken the extermination of captured Polish officers, the Germans carried out (starting March 31) a parallel 'Operation AB' aimed at destroying Poland's elites. — Mark Paul.
See also: Commentary from Wojciech Materski. [in:] Katyn: A Crime Without Punishment. (cited), about the lack of documentary evidence connecting the conferences to the advent of genocidal policies in Poland, which indicates that the mass murder operations were carried out by both sides independently. - ↑ Stenton, Michael (2000). Radio London and Resistance in Occupied Europe. Oxford. p. 277. ISBN 978-0-19-820843-3.