ข้ามไปเนื้อหา

กองทัพบกโซเวียต

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
กองทัพบกโซเวียต
Russian: Советская Армия
Ukrainian: Радянська Армія[1]
สัญลักษณ์ของกองทัพบกโซเวียต
ประจำการ25 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1946
ปลดประจำการ25 ธันวาคม 1991
ประเทศ สหภาพโซเวียต
ขึ้นต่อพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต
รูปแบบกองทัพบก
บทบาทสงครามทางภาคพื้นดิน
กำลังรบประจำการ 3,668,075 นาย (1991)
สำรอง 4,129,506 นาย (ค.ศ. 1991)
สมญา"กองทัพแดง"
สีหน่วยแดงและเหลือง
ยุทธภัณฑ์รถถัง 55,000 คัน [2]
รถลำเลียงพลหุ้มเกราะ 70,000 คัน [2]
ยานต่อสู้ทหารราบ 24,000 คัน
ปืนใหญ่ลากจูง 33,000 กระบอก
ปืนใหญ่เฮาวิตเซอร์อัตตาจร 9,000 คัน
ปืนต่อต้านอากาศยาน 12,000 กระบอก
เฮลิคอปเตอร์ 4,300 ลำ
ปฏิบัติการสำคัญ
ผู้บังคับบัญชา
ผู้บัญชาการทหารสูงสุดแห่งกองทัพบกรัสเซียดูที่รายชื่อ
ผบ. สำคัญเกออร์กี จูคอฟ

กองทัพบกโซเวียต (รัสเซีย: Cоветские сухопутные войска, อักษรโรมัน: Sovetskiye sukhoputnye voyska, SSV)[3] เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบต่อการปฏิบัติการทางทหารบนภาคพื้นดินเป็นหลักของกองทัพโซเวียตที่ดำรงอยู่ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1946 จนกระทั่งเมื่อสหภาพโซเวียตได้ล่มสลายลงในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1991 กองทัพบกโซเวียตไม่ได้ถูกยุบอย่างเป็นความลับแต่อย่างใดจนถึงวันที่ 25 ธันวาคม ค.ศ. 1993 ในการสนับสนุนต่อการก่อตั้งกองทัพบกแห่งสหพันธรัฐรัสเซีย

จนถึงวันที่ 25 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1946 เป็นที่รู้จักกันในชื่อว่า กองทัพแดง ถูกจัดตั้งขึ้นในคำสั่งบัญชาการ เมื่อวันที่ 15(28) มกราคม ค.ศ. 1918 "เพื่อปกป้องประชากร ความอุดมสมบูรณ์ของแผ่นดิน และเสรีภาพพลเมืองในดินแดนของรัฐโซเวียต" หน่วยขีปนาวุธทางยุทธศาสตร์ กองกำลังป้องกันภัยทางอากาศ และกองทัพอากาศ(อันดับที่หนึ่ง สาม และสี่ในกองทัพโซเวียต ส่วนกองทัพบกยึดติดอยู่ในอันดับที่สอง) เป็นส่วนหนึ่งของกองทัพบกโซเวียตในนอกเหนือไปจากกองกำลังภาคพื้นดิน

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Открытка Слава Советской Армии! Слава Радянській Армії!". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 March 2020. สืบค้นเมื่อ 1 March 2020. The Ukrainian language was officially used in Soviet Army postcards produced in Kiev, Ukrainian SSR, 1987.
  2. 2.0 2.1 Russian Land Combat Equipment. globalsecurity.org
  3. Thomas, Nigel (2013-01-20). World War II Soviet Armed Forces (3): 1944–45 (ภาษาอังกฤษ). Bloomsbury Publishing. ISBN 978-1-84908-635-6.