ข้ามไปเนื้อหา

กลุ่มสิบเจ็ดมณฑล

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สิบเจ็ดมณฑล

Zeventien Provinciën
Diecisiete Provincias
Siebzehn Provinzen
Dix-sept Provinces
ค.ศ. 1482ค.ศ. 1581
ธงชาติ
ธงชาติ
แผนที่ของกลุ่มสิบเจ็ดมณฑล
แผนที่ของกลุ่มสิบเจ็ดมณฑล
สถานะรัฐในเครือจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์
เมืองหลวงบรัสเซลส์
ภาษาทั่วไปดัตช์, ฝรั่งเศส
ศาสนา
โรมันคาทอลิก (ทางการ)
หลังคริสต์ทศวรรษ 1530 โปรเตสแตนต์ และ Anabaptism (ภายในรัฐทางตอนเหนือ, ชนกลุ่มน้อยอย่างไม่เป็นทางการ)
การปกครองราชาธิปไตย
ยุคประวัติศาสตร์ยุคกลาง
• ก่อตั้ง
ค.ศ. 1482
ค.ศ. 1512
26 กรกฎาคม ค.ศ. 1581
ก่อนหน้า
ถัดไป
เนเธอร์แลนด์ของเบอร์กันดี
สาธารณรัฐดัตช์
เนเธอร์แลนด์ของสเปน

กลุ่มสิบเจ็ดมณฑล (เยอรมัน: Siebzehn Provinzen, อังกฤษ: Seventeen Provinces) เป็นการรวมตัวเป็นสหอาณาจักรของรัฐในกลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำในคริสต์ศตวรรษที่ 15 และ 16 ที่ครอบคลุมบริเวณที่ในปัจจุบันคือเนเธอร์แลนด์, เบลเยียม, บริเวณพอสมควรในลักเซมเบิร์ก (อาร์ตัว, นอร์ด) และส่วนเล็ก ๆ ในเยอรมนี

กลุ่มสิบเจ็ดมณฑลเดิมอยู่ภายใต้การปกครองของดยุคแห่งเบอร์กันดีแห่ง ราชวงศ์วาลัวส์และต่อมาโดยราชวงศ์ฮับส์บูร์ก เริ่มด้วยสายสเปนและตามด้วยสายออสเตรีย ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1512 มณฑลเหล่านี้ก็เป็นส่วนสำคัญของกลุ่มเครือราชรัฐบูร์กอญของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์[1]

องค์ประกอบ

[แก้]

กลุ่มสิบเจ็ดมณฑลประกอบด้วย:

  1. เคาน์ตีอาร์ตัว
  2. เคาน์ตีฟลานเดอร์ส รวมทั้งอาณาจักรเบอร์กราฟแห่งลีลล์, Douai, Orchies, อาณาจักรลอร์ดแห่งตูร์แนร์ และ ตูร์แนร์ซีส
  3. อาณาจักรลอร์ดแห่งเมเชเลน
  4. เคาน์ตีนาเมอร์
  5. เคาน์ตีแอโน
  6. เคาน์ตีเซแลนด์
  7. เคาน์ตีฮอลแลนด์
  8. ดัชชีบราบันต์ รวมทั้งรัฐมากราฟแห่งอันท์เวิร์พ, เคาน์ตีเลอวอง และ บรัสเซลส์, และแอบบีNivelles และ Gembloux
  9. ดัชชีลิมบูร์ก รวมทั้งเคาน์ตีดาลเฮม และ วาลเคนบูร์ก และอาณาจักรลอร์ดแห่งแฮร์โซเจนรัท
  10. ดัชชีลักเซมเบิร์ก
  11. ราชรัฐมุขนายกยูเทรกต์ ต่อมาเป็นอาณาจักรลอร์ดแห่งอูเทร็คท์
  12. อาณาจักรลอร์ดแห่งฟรีสลันด์
  13. ดัชชีเกลเดอร์ส และ เคาน์ตีซุทเฟน
  14. อาณาจักรลอร์ดแห่งโกรนิงเงิน
  15. โอมเมแลนเดน
  16. อาณาจักรลอร์ดแห่งเดรนธ์, ลิงเกน, เวดเดอ และ เวสเตอร์โวลเดอ
  17. อาณาจักรลอร์ดแห่งโอเฟอไรส์เซิล

สมาชิกในกลุ่มมิได้มีครบทั้งสิบเจ็ดมณฑลเสมอไป ในช่วงที่รุ่งเรืองอยู่ก็มีการเข้าออกกันบ้าง

อ้างอิง

[แก้]
  1. Holy Roman Empire[1]

ดูเพิ่ม

[แก้]