ไทยแลนด์ เซมิโปรลีก ฤดูกาล 2566 – โซนกรุงเทพและปริมณฑล

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไทยแลนด์ เซมิโปรลีก
โซนกรุงเทพและปริมณฑล
ฤดูกาล2566
วันที่4 กุมภาพันธ์ – 19 มีนาคม 2566[1]
ทีมชนะเลิศดิไอคอน อาร์เอสยู
เลื่อนชั้นดิไอคอน อาร์เอสยู
จำนวนนัด21
จำนวนประตู53 (2.52 ประตูต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดภัสกร ฟักแฟง
(4 ประตู)
ทีมเหย้า
ชนะสูงสุด
3 ประตู
อีจีวาย ไทย 3–0 ฮิปโป
(5 กุมภาพันธ์ 2566)
มีนบุรี ซิตี้ 5–2 บีเอสแอล ยูไนเต็ด
(19 กุมภาพันธ์ 2566)
สาทร ยูทีเค 4–1 บีเอสแอล ยูไนเต็ด
(4 มีนาคม 2566)
ดิไอคอน อาร์เอสยู 4–1 สาทร ยูทีเค
(11 มีนาคม 2566)
ทีมเยือน
ชนะสูงสุด
5 ประตู
สาทร ยูทีเค 0–5 อีจีวาย ไทย
(19 มีนาคม 2566)
จำนวนประตูสูงสุด7 ประตู
มีนบุรี ซิตี้ 5–2 บีเอสแอล ยูไนเต็ด
(19 กุมภาพันธ์ 2566)
ชนะติดต่อกัน
มากที่สุด
3 นัด
ดิไอคอน อาร์เอสยู
อีจีวาย ไทย
ไม่แพ้ติดต่อกัน
มากที่สุด
4 นัด
บางกะปิ
ไม่ชนะติดต่อกัน
มากที่สุด
6 นัด
ฮิปโป
แพ้ติดต่อกัน
มากที่สุด
5 นัด
บีเอสแอล ยูไนเต็ด
จำนวนผู้ชมสูงสุด250 คน
บางกะปิ 1–0 ดิไอคอน อาร์เอสยู
(5 มีนาคม 2566)
จำนวนผู้ชมต่ำสุด0 คน
อีจีวาย ไทย 3–0 ฮิปโป
(5 กุมภาพันธ์ 2566)
มีนบุรี ซิตี้ 0–0 สาทร ยูทีเค
(5 กุมภาพันธ์ 2566)
จำนวนผู้ชมรวม2,159 คน
จำนวนผู้ชมเฉลี่ย114 คน
2567
สถิติทั้งหมดปรับปรุงล่าสุดในวันที่ 19 มีนาคม 2566

ไทยแลนด์ เซมิโปรลีก ฤดูกาล 2566 โซนกรุงเทพและปริมณฑล เป็นส่วนหนึ่งของการแข่งขันไทยแลนด์ เซมิโปรลีก ฤดูกาล 2566 ซึ่งเป็นการแข่งขันในระดับที่ 4 ในระบบลีกฟุตบอลไทย และเป็นการแข่งขันฤดูกาลแรกของไทยแลนด์ เซมิโปรลีก

สโมสร[แก้]

ที่ตั้งของสโมสรในการแข่งขันไทยแลนด์ เซมิโปรลีก ฤดูกาล 2566 – โซนกรุงเทพและปริมณฑล

สโมสรที่เข้าแข่งขันในฤดูกาล 2566 โซนกรุงเทพและปริมณฑล มีจำนวน 7 สโมสร

สนามเหย้า และที่ตั้ง[แก้]

สโมสร ที่ตั้ง สนามเหย้า ความจุ
ดิไอคอน อาร์เอสยู กรุงเทพมหานคร
(หลักสี่)
เอ็นทีสเตเดียม 3,000
บางกะปิ กรุงเทพมหานคร
(สายไหม)
เกร็กคูสเตเดียม 500
บีเอสแอล ยูไนเต็ด สมุทรปราการ สนามกีฬาโรงเรียนนานาชาติ เวอโซ 1,000
มีนบุรี ซิตี้ กรุงเทพมหานคร
(ลาดกระบัง)
สนามกีฬาสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 3,000
สาทร ยูทีเค กรุงเทพมหานคร
(สาทร)
ยูทีเคสเตเดียม 2,000
อีจีวาย ไทย ปทุมธานี สนามกีฬามหาวิทยาลัยกรุงเทพ 800
ฮิปโป กรุงเทพมหานคร
(บางบอน)
สนามกีฬาศูนย์กีฬาเฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา (บางบอน) 3,000

ข้อมูลสโมสร[แก้]

สโมสร หัวหน้าผู้ฝึกสอน กัปตันทีม ผู้ผลิตชุด
ดิไอคอน อาร์เอสยู ไทย กฤษฎา แสงจันทร์ ไทย ธนินท์รัฐ ธนวิทย์พงศกร
บางกะปิ ไทย เอกพงษ์ มิตรผล ไทย ประมวล ศรีบุญ
บีเอสแอล ยูไนเต็ด ไทย ทอม ดิกซอน ไทย สิทธิชัย ศรีบุดดา อีโก้สปอร์ต
มีนบุรี ซิตี้ ไทย อิทธิพล พิมพ์วงศ์ ไทย นวพรรษ สายโกมล แกรนด์สปอร์ต
สาทร ยูทีเค ไทย ใกล้รุ่ง ตรีจักรสังข์ ไทย ณัฐพนธ์ กุลสุวรรณ แพน
อีจีวาย ไทย ไทย นราเศรษฐ์ ใจดี ไทย ประภัสสร กลิ่นดํารงค์ อีโก้สปอร์ต
ฮิปโป ไทย ปรีติกร กองพา ไทย มาธาวี อุระ มาต้า

ตารางคะแนน[แก้]

อันดับ[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบหรือการตกชั้น
1 ดิไอคอน อาร์เอสยู (C, P) 6 5 0 1 12 4 +8 15[a] เลื่อนชั้นสู่ไทยลีก 3 ฤดูกาล 2566–67 – โซนกรุงเทพและปริมณฑล
2 อีจีวาย ไทย 6 5 0 1 16 2 +14 15[a]
3 บางกะปิ 6 3 2 1 4 3 +1 11
4 สาทร ยูทีเค 6 2 1 3 7 12 −5 7
5 มีนบุรี ซิตี้ 6 1 3 2 7 7 0 6
6 บีเอสแอล ยูไนเต็ด 6 1 0 5 5 15 −10 3
7 ฮิปโป 6 0 2 4 2 10 −8 2
แหล่งที่มา : ไทยลีก
กฎการจัดอันดับ : ถ้ายังไม่จบฤดูกาล 1. คะแนนรวม 2. ผลต่างประตูได้-เสีย 3. ประตูที่ทำได้ 4. จำนวนนัดที่ชนะ
ถ้าจบฤดูกาลแล้ว 1. คะแนนรวม 2. ผลเฮด-ทู-เฮด/มินิลีก 3. ผลต่างประตูได้-เสีย 4. ประตูที่ทำได้ 5. ผลต่างประตูได้-เสีย 6. ประตูได้ 7. คะแนนใบเหลือง-ใบแดง 8. จับสลาก
(C) ชนะเลิศ; (P) เลื่อนชั้น.
หมายเหตุ :
  1. 1.0 1.1 ดิไอคอน อาร์เอสยู มีผลเฮด-ทู-เฮดดีกว่า อีจีวาย ไทย: อีจีวาย ไทย 0–1 ดิไอคอน อาร์เอสยู

อันดับตามสัปดาห์[แก้]

ตารางด้านล่างนี้จะแสดงอันดับบนตารางคะแนนในแต่ละสัปดาห์ เพื่อที่จะแสดงถึงพัฒนาการของแต่ละสโมสร การแข่งขันที่ถูกเลื่อนออกไปจะไม่แสดงในตาราง แต่จะถูกนับรวมกับการแข่งขันอีกนัดเมื่อได้มีการแข่งขันนั้นเกิดขึ้นใหม่ เช่น การแข่งขันนัดที่ 13 ถูกเลื่อนไประหว่างนัดที่ 16 และ 17 ผลตารางคะแนนจะถูกปรับปรุงในนัดที่ 16

เลื่อนชั้นสู่ไทยลีก 3 ฤดูกาล 2566–67
อ้างอิง: ไทยลีก

ผลการแข่งขันที่ลงเล่น[แก้]

อ้างอิง: ไทยลีก
N = ไม่มีการแข่งขัน; W = ชนะ; D = เสมอ; L = แพ้

ผลการแข่งขัน[แก้]

เหย้า / เยือน TIR BKP BSL MBR SAT EGY HIP
ดิไอคอน อาร์เอสยู 1–0 3–2 4–1
บางกะปิ 1–0 0–0 0–0
บีเอสแอล ยูไนเต็ด 0–1 0–3 2–1
มีนบุรี ซิตี้ 5–2 0–0 0–2
สาทร ยูทีเค 0–1 4–1 0–5
อีจีวาย ไทย 0–1 3–1 3–0
ฮิปโป 0–3 0–0 1–2
ที่มา: ไทยลีก
สีฟ้าหมายถึงทีมเหย้าชนะ สีเหลืองหมายถึงเสมอกัน และสีแดงหมายถึงทีมเยือนชนะ

สถิติ[แก้]