อิหม่าม

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

อิหม่ามโมกุลนั่งสนทนากัน

อิหม่าม หรือ โต๊ะอิหม่าม หรือภาษามลายูปัตตานีว่า โต๊ะอีแม[1] มาจากคำอาหรับว่า อิมาม (อาหรับ: إمام) แปลว่าผู้นำ มีหน้าที่สอนและปฏิบัติการละหมาดแก่สัปบุรุษเพื่อมุ่งศรัทธาต่ออัลลอฮ์และนบีมุฮัมมัด[2] เป็นผู้มีความรู้และมีคุณธรรม[1]

ทั้งนี้อิหม่ามยังทำหน้าที่เป็นประธานของกิจต่าง ๆ อาทิ การเกิด การสมรส และการตาย รวมทั้งการรังสรรค์ความเจริญก้าวหน้าแก่มัสยิดและชุมชน[2]

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 แพร ศิริศักดิ์ดำเกิง (2552). ทักษะวัฒนธรรม (PDF). กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร. p. 141. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2012-08-31. สืบค้นเมื่อ 2015-05-17.
  2. 2.0 2.1 ประพนธ์ เรืองณรงค์. เรื่องเล่าจากปัตตานี. กรุงเทพฯ : สถาพรบุ๊คส์, 2548, หน้า 17

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

  • เชค อับดุลลอฮ์ อับดิรเราะหมาน ศอและห์ อาลบัสซาม (เขียน), สมอเอก (แปล). "การเป็นอิหม่าม". อิสลามมอร์. สืบค้นเมื่อ 17 พฤษภาคม 2558. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)