ยูฟ่ายูโรปาลีก นัดชิงชนะเลิศ 2020

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ยูฟ่ายูโรปาลีก นัดชิงชนะเลิศ 2020
รายการยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2019–20
วันที่21 สิงหาคม พ.ศ. 2563
สนามไรน์เอแนร์กีชตาดีอ็อน, โคโลญ
ผู้เล่นยอดเยี่ยม
ประจำนัด
ลืก เดอ โยง (เซบิยา)[1]
ผู้ตัดสินดันนี มัคเคอไล (เนเธอร์แลนด์)[2]
ผู้ชม0 คน[note 1]
สภาพอากาศมีเมฆเป็นบางส่วนตอนกลางคืน
24 องศาเซลเซียส (75 องศาฟาเรนไฮต์)
ความชื้นสัมพัทธ์ 55%[3]
2019
2021

ยูฟ่ายูโรปาลีก นัดชิงชนะเลิศ 2020 เป็นการแข่งขันฟุตบอลนัดชิงชนะเลิศของยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2019–20 ฤดูกาลที่ 49 ของการแข่งขันฟุตบอลสโมสรลำดับที่สองของยุโรป จัดขึ้นโดยยูฟ่า และเป็นฤดูกาลที่ 11 นับตั้งแต่เปลี่ยนชื่อจากยูฟ่าคัพมาเป็นยูฟ่ายูโรปาลีก นัดนี้จะลงเล่นที่ไรน์เอแนร์กีชตาดีอ็อนในเมืองโคโลญ ประเทศเยอรมนี ในวันที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020)

รอบชิงชนะเลิศตามกำหนดการเดิมจะต้องลงเล่นในวันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2563 ที่สนามกีฬาแอแนร์กากดัญสก์ ในเมืองกดัญสก์ ประเทศโปแลนด์[4] อย่างไรก็ตาม ยูฟ่าได้ประกาศไว้เมื่อวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2563 ว่านัดชิงชนะเลิศจะถูกเลื่อนการแข่งขันเนื่องจากการระบาดทั่วของโควิด-19 ในทวีปยุโรป[5] เมื่อวันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2563 คณะกรรมการบริหารของยูฟ่าเลือกที่จะย้ายที่ตั้งของรอบชิงชนะเลิศไปเป็นโคโลญ[6]

เซบิยาชนะ 3–2 สำหรับสถิติแชมป์ยูฟ่าคัพ/ยูโรปาลีกสมัยที่หกของพวกเขา. ในฐานะทีมชนะเลิศ, พวกเขาได้รับสิทธิ์ที่จะลงเล่นพบกับทีมชนะเลิศของ ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2019–20 ใน ยูฟ่าซูเปอร์คัพ 2020. พวกเขายังมีคุณสมบัติที่จะเข้าสู่รอบแบ่งกลุ่มของ ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2020–21; ตั้งแต่เซบิยาได้สิทธิ์ที่จะได้เข้ารอบผ่านผลงานในลีกของพวกเขา, สถานะการจองจะได้รับต่อทีมอันดับที่สามของ ลีกเอิง ฤดูกาล 2019–20 (แรน), สมาคมที่ 5 ตามที่รายชื่อที่ลงทะเบียนไว้ของฤดูกาลหน้า.[7]

ทีม[แก้]

ในตารางด้านล่างนี้, นัดชิงชนะเลิศจนถึงปี ค.ศ. 2009 เป็นยุคยูฟ่าคัพ, นับตั้งแต่ปี ค.ศ. 2010 เป็นยุคยูฟ่ายูโรปาลีก.

ทีม จำนวนการลงสนามรอบชิงชนะเลิศครั้งที่ผ่านมา (ตัวหนาหมายถึงทีมชนะเลิศ)
สเปน เซบิยา 5 (2006, 2007, 2014, 2015, 2016)
อิตาลี อินแตร์มิลาน 4 (1991, 1994, 1997, 1998)

สนามแข่งขัน[แก้]

สนามกีฬาได้เปลี่ยนชื่อใหม่เป็น "ชตาดิโอน เคิล์น" สำหรับนัดนี้.

คณะกรรมการบริหารยูฟ่าได้เลือก ไรน์เอแนร์กีชตาดีอ็อน ใน โคโลญ ในฐานะเจ้าภาพจัดการแข่งขันที่การประชุมของพวกเขาเมื่อวันที่ 17 มิถุนายน ค.ศ. 2020.[6] นี่เป็นการแข่งขันสโมสรยูฟ่าครั้งแรกที่เป็นเจ้าภาพที่สนามกีฬาแห่งนี้และเป็นครั้งแรกยูโรปาลีกนัดชิงชนะเลิศที่จัดขึ้นในประเทศเยอรมนีนับตั้งแต่ 2010. ในช่วงยุคนัดชิงชนะเลิศแบบสองเลก, ประเทศที่ได้รับหน้าเสื่อเป็ฯเจ้าภาพอย่างใดอย่างหนึ่ง หนึ่งหรือสองเลกจำนวน 11 สมัย, ก่อนที่จะเป็นเจ้าภาพแบบเลกเดียว ยูฟ่าคัพ นัดชิงชนะเลิศ 2001 ในดอร์ทมุนท์ และนัดชิงชนะเลิศปี ค.ศ. 2010 ในฮัมบูร์ก.

สนามกีฬาแห่งนี้ครั้งแรได้ถูกเปิดใช้งานในปี ค.ศ. 1923 ในชื่อ มึนเกอร์สดอร์เฟอร์ สตาดิอ็อน และเป็นสนามกีฬาทีมเหย้าของ บุนเดิสลีกา เยอรมัน แอร์สเทอ เอ็ฟเซ เคิล์น ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1948. ซึ่งได้รับการบูรณะครั้งใหญ่ถึงสองครั้งตลอดอายุการใช้งาน. สนามนี้ได้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 1988 เช่นเดยวกับ ฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ 2005 และ ฟุตบอลโลก 2006.

เส้นทางสู่นัดชิงชนะเลิศ[แก้]

หมายเหตุ: ในตาราง, ผลการแข่งขันของผู้เข้าชิงชนะเลิศจะได้รับเป็นชื่อแรก (H = เหย้า; A = เยือน; N: กลาง).

สเปน เซบิยา รอบ อิตาลี อินแตร์มิลาน
ยูโรปาลีก แชมเปียนส์ลีก
คู่แข่งขัน ผล รอบแบ่งกลุ่ม (EL, CL) คู่แข่งขัน ผล
อาเซอร์ไบจาน คาราบัก 3–0 (A) นัดที่ 1 เช็กเกีย สลาเวีย ปราก 1–1 (H)
ไซปรัส อาโปเอล 1–0 (H) นัดที่ 2 สเปน บาร์เซโลนา 1–2 (A)
ลักเซมเบิร์ก แอ็ฟ91 ดูดล็องฌ์ 3–0 (H) นัดที่ 3 เยอรมนี โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ 2–0 (H)
ลักเซมเบิร์ก แอ็ฟ91 ดูดล็องฌ์ 5–2 (A) นัดที่ 4 เยอรมนี โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ 2–3 (A)
อาเซอร์ไบจาน คาราบัก 2–0 (H) นัดที่ 5 เช็กเกีย สลาเวีย ปราก 3–1 (A)
ไซปรัส อาโปเอล 0–1 (A) นัดที่ 6 สเปน บาร์เซโลนา 1–2 (H)
ชนะเลิศ กลุ่ม A
อันดับ ทีม เล่น คะแนน
1 สเปน เซบิยา 6 15
2 ไซปรัส อาโปเอล 6 10
3 อาเซอร์ไบจาน คาราบัก 6 5
4 ลักเซมเบิร์ก เอฟ91 ดูเดลันเก 6 4
แหล่งที่มา : ยูฟ่า
ตารางคะแนน อันดับ 3 กลุ่ม F
อันดับ ทีม เล่น คะแนน
1 สเปน บาร์เซโลนา 6 14
2 เยอรมนี โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ 6 10
3 อิตาลี อินแตร์มิลาน 6 7
4 เช็กเกีย สลาเวีย ปราก 6 2
แหล่งที่มา : ยูฟ่า
ยูโรปาลีก
คู่แข่งขัน รวมผลสองนัด นัดแรก นัดที่สอง รอบแพ้คัดออก คู่แข่งขัน รวมผลสองนัด นัดแรก นัดที่สอง
โรมาเนีย ซีเอฟอาร์ คลูช 1–1 () 1–1 (A) 0–0 (H) รอบ 32 ทีมสุดท้าย บัลแกเรีย ลูโดโกเรตส์ รัซกราด 4–1 2–0 (A) 2–1 (H)
อิตาลี โรมา 2–0 (N) รอบ 16 ทีมสุดท้าย สเปน เฆตาเฟ 2–0 (N)
อังกฤษ วุลเวอร์แฮมป์ตันวอนเดอเรอส์ 1–0 (N) รอบก่อนรองชนะเลิศ เยอรมนี ไบเออร์ เลเวอร์คูเซิน 2–1 (N)
อังกฤษ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด 2–1 (N) รอบรองชนะเลิศ ยูเครน ชัคตาร์ ดอแนตสก์ 5–0 (N)

ก่อนการแข่งขัน[แก้]

เอกลักษณ์[แก้]

เอกลักษณ์ดั้งเดิมของยูฟ่ายูโรปาลีก นัดชิงชนะเลิศ 2020 ถูกเปิดเผยครั้งแรกที่พิธีการจับสลากรอบแบ่งกลุ่มเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม ค.ศ. 2019.[8]

ทูต[แก้]

ทูตดั้งเดิมสำหรับกดัญสก์ นัดชิงชนะเลิศ เป็นอดีตนักฟุตบอลทีมชาติโปแลนด์ อันดร์เซจ บุนคอล,[9] ผู้เคยชนะ ยูฟ่าคัพ ฤดูกาล 1987–88 กับ ไบเออร์ เลเวอร์คูเซิน.

ผู้ตัดสิน[แก้]

เมื่อวันที่ 18 สิงหาคม ค.ศ. 2020, ยูฟ่าได้เปิดเผยชื่อดัตช์แมน ดันนี มัคเคอไล ในฐานะผู้ตัดสินสำหรับนัดชิงชนะเลิศ. มัคเคอไลเคยเป็น ผู้ตัดสินฟีฟ่า ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2011, และก่อนหน้านี้เขาเคยทำหน้าที่เป็นผู้ช่วยผู้ตัดสินเพิ่มเติมใน ยูฟ่ายูโรปาลีก นัดชิงชนะเลิศ 2018 และ ผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ ใน ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก นัดชิงชนะเลิศ 2019. เขายังเคยเป็นผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอใน ฟุตบอลโลก 2018 นัดชิงชนะเลิศ. เขามีส่วนร่วมโดยเพื่อนร่วมชาติของเขาสี่คน, กับ มาริโอ ดิกส์ และ เฮสเซล สเตเอกสตรา ในฐานะผู้ช่วยผู้ตัดสิน, โจเชม คัมฟุยส์ ในฐานะ ผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ และ เกฟิน โบลม ในฐานะหนึ่งในผู้ช่วยผู้ตรวจสอบวีเออาร์. ผู้ช่วยอื่นๆ จาก วีเออาร์ สำหรับนัดชิงชนะเลิศจะเป็น ปาแว็ล กิล จากโปแลนด์, กับเพื่อนร่วมชาติของเขา ตอมัสซ์ โซคอลนิคกิ ทำหน้าที่เป็นเจ้าหน้าที่ล้ำหน้าวีเออาร์. อานาสตาซิออส ซิดิโรปูลอส ของกรีซเป็นผู้ตัดสินที่สี่.[2]

นัด[แก้]

รายละเอียด[แก้]

ทีม "เจ้าบ้าน" (สำหรับวัตถุประสงค์ในการจัดการ) จะได้รับการกำหนดขึ้นโดยการจับสลากเพิ่มเติมเกิดขึ้นในวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 (หลังจากเสร็จสิ้นการจับสลากรอบก่อนรองชนะเลิศและรอบรองชนะเลิศ) ที่สำนักงานใหญ่ยูฟ่าในเมืองนียง ประเทศสวิตเซอร์แลนด์


เซบิยา[3]
อินแตร์มิลาน[3]
GK 13 โมร็อกโก ยัสซีน บูนู
RB 16 สเปน เฆซุส นาบัส (กัปตัน)
CB 12 ฝรั่งเศส ฌูแล็ส โคอุนเด
CB 20 บราซิล ดิเอกู การ์ลูส โดนใบเหลือง ใน 4 นาที 4' Substituted off in the 86 นาที 86'
LB 23 สเปน เซร์ฆิโอ เรกีโยน
RM 24 สเปน โฆอัน โฆร์ดัน
CM 25 บราซิล เฟร์นังดู
LM 10 อาร์เจนตินา เอเวร์ บาเนกา โดนใบเหลือง ใน 45 นาที 45'
RW 5 อาร์เจนตินา ลูกัส โอกัมโปส Substituted off in the 71 นาที 71'
CF 19 เนเธอร์แลนด์ ลืก เดอ โยง Substituted off in the 85 นาที 85'
LW 41 สเปน ซูโซ Substituted off in the 77 นาที 77'
ผู้เล่นสำรอง:
GK 1 เช็กเกีย โตมัส วาชลิค
GK 31 สเปน ฆาบี ดิอัซ
DF 3 สเปน แซร์ฌี โกเมซ
DF 18 สเปน เซร์ฆิโอ เอสกูเดโร
DF 36 สเปน เฌนาโร โรดริเกซ
DF 40 สเปน ปาโบล เปเรซ
MF 17 เซอร์เบีย เนมันยา กูเดลจ์ Substituted on in the 86 minute 86'
MF 21 สเปน โอลิเบร์ ตอร์เรส
MF 22 อาร์เจนตินา ฟรันโก บัซเกซ Substituted on in the 77 minute 77'
FW 11 สเปน มุนีร Substituted on in the 71 minute 71'
FW 28 สเปน โฆเซ ลารา
FW 51 โมร็อกโก ยูสเซ็ฟ เอน-เนซีริ Substituted on in the 85 minute 85'
ผู้จัดการทีม:
สเปน ฆูเลน โลเปเตกี
GK 1 สโลวีเนีย ซามีร์ ฮันดานอวิช (กัปตัน)
CB 2 อุรุกวัย เดียโก โกดิน Substituted off in the 90 นาที 90'
CB 6 เนเธอร์แลนด์ สเตฟัน เดอ ไฟร
CB 95 อิตาลี อาเลสซันโดร บัสโตนี โดนใบเหลือง ใน 55 นาที 55'
RM 23 อิตาลี นิโคโล บาเรลลา โดนใบเหลือง ใน 41 นาที 41'
CM 77 โครเอเชีย มาร์เซลอ บรอซอวิช
LM 5 อิตาลี โรแบร์โต กาเกลียร์ดินี โดนใบเหลือง ใน 73 นาที 73' Substituted off in the 78 นาที 78'
RW 33 อิตาลี ดานิโล ดี'อัมโบรซิโอ Substituted off in the 78 นาที 78'
LW 15 อังกฤษ แอชลีย์ ยัง
CF 9 เบลเยียม โรเมลู ลูกากู
CF 10 อาร์เจนตินา เลาตาโร มาร์ติเนซ Substituted off in the 78 นาที 78'
ผู้เล่นสำรอง:
GK 27 อิตาลี ดานิเอเล ปาเดลลี
DF 13 อิตาลี อันเดรอา ราน็อกเกีย
DF 31 อิตาลี โลเรนโซ ปิโรลา
DF 34 อิตาลี คริสเตียโน บิรากี
DF 37 สโลวาเกีย มิลาน ชครีเนียร์
MF 11 ไนจีเรีย วิกเตอร์ โมเซส Substituted on in the 78 minute 78'
MF 12 อิตาลี สเตฟาโน เซนซี
MF 20 สเปน บอร์ฆา บาเลโร
MF 24 เดนมาร์ก คริสเตียน เอริกเซน Substituted on in the 78 minute 78'
MF 87 อิตาลี อันโตนิโอ แคนเดรวา Substituted on in the 90 minute 90'
FW 7 ชิลี อาเลกซิส ซันเชซ Substituted on in the 78 minute 78'
FW 30 อิตาลี เซบัสเตียโน เอสโปซิโต
ผู้จัดการทีม:
อิตาลี อันโตนีโอ กอนเต โดนใบเหลือง ใน 18 นาที 18'

ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำนัด:
ลืก เดอ โยง (เซบิยา)[1]

ผู้ช่วยผู้ตัดสิน:[2]
มาริโอ ดิกส์ (เนเธอร์แลนด์)
เฮสเซล สเตเอกสตรา (เนเธอร์แลนด์)
ผู้ตัดสินที่สี่:[2]
อานาสตาซิออส ซิดิโรปูลอส (กรีซ)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:[2]
โยเชม คัมฟุยส์ (เนเธอร์แลนด์)
ผู้ช่วยของผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:[2]
เกฟิน โบลม (เนเธอร์แลนด์)
ปาแว็ล กิล (โปแลนด์)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอจากการล้ำหน้า:[2]
ตอมัสซ์ โซโคลนิคกิ (โปแลนด์)

ข้อมูลในการแข่งขัน[11]

  • แข่งขันเวลาปกติ 90 นาที
  • ต่อเวลาพิเศษไปอีก 30 นาที เมื่อทั้งสองทีมเสมอกันในเวลาปกติ
  • ตัดสินด้วยการดวลลูกจุดโทษ เพื่อหาผู้ชนะ
  • มีชื่อรายชื่อผู้เล่นสำรอง 12 คน
  • การเปลี่ยนตัวผู้เล่นสูงสุดห้าคน, กับอนุญาตเปลี่ยนผู้เล่นคนที่หกได้ในช่วงต่อเวลาพิเศษ[note 2]

สถิติ[แก้]

ดูเพิ่ม[แก้]

หมายเหตุ[แก้]

  1. 1.0 1.1 ส่วนที่เหลือของการแข่งขันจัดขึ้นในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 2020 จะลงเล่นโดยปิดประตูเนื่องจากการระบาดทั่วของโควิด-19 ในทวีปยุโรป[10]
  2. แต่ละทีมจะได้รับสิทธิ์สามครั้งที่จะได้เปลี่ยนตัวผู้เล่น, กับโอกาสครั้งที่สี่ในช่วงต่อเวลาพิเศษ, ไม่นับรวมการเปลี่ยนตัวผู้เล่นที่เกิดชึ้นในช่วงพักครึ่งแรก, ก่อนที่จะเริ่มต้นของช่วงต่อเวลาพิเศษและช่วงพักครึ่งเวลาแรกในการต่อเวลาพิเศษ.

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 "Sevilla 3–2 Inter: Sevilla win the Europa League!". UEFA.com. Union of European Football Associations. 21 August 2020. สืบค้นเมื่อ 21 August 2020.
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 "Referee team appointed for UEFA Europa League final". UEFA.com. Union of European Football Associations. 18 August 2020. สืบค้นเมื่อ 18 August 2020.
  3. 3.0 3.1 3.2 "Tactical Lineups – Final – Friday 21 August 2020" (PDF). UEFA.com. Union of European Football Associations. 21 August 2020. สืบค้นเมื่อ 21 August 2020.
  4. "Seville to host 2021 UEFA Europa League final". UEFA.com. Union of European Football Associations. 24 September 2019. สืบค้นเมื่อ 28 September 2019.
  5. "UEFA Club Finals postponed". UEFA.com. Union of European Football Associations. 23 March 2020. สืบค้นเมื่อ 23 March 2020.{{cite news}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  6. 6.0 6.1 "UEFA competitions to resume in August". UEFA.com. Union of European Football Associations. 17 June 2020. สืบค้นเมื่อ 17 June 2020.
  7. "Champions League and Europa League changes next season". UEFA.com. Union of European Football Associations. 27 February 2018. สืบค้นเมื่อ 27 February 2018.
  8. "2020 Gdańsk UEFA Europa League final identity unveiled". UEFA.com. 30 August 2019.
  9. "Sorteggi Europa League: la Roma trova il Moenchengladbach, Rennes e Celtic per la Lazio" (ภาษาอิตาลี). Corriere dello Sport – Stadio. 30 August 2019. สืบค้นเมื่อ 3 June 2020.
  10. "Venues for Round of 16 matches confirmed". UEFA.com. Union of European Football Associations. 9 July 2020. สืบค้นเมื่อ 10 July 2020.
  11. "Regulations of the UEFA Europa League: 2019/20 Season" (PDF). UEFA.com. Union of European Football Associations. 2020. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 August 2020. สืบค้นเมื่อ 21 August 2020.
  12. 12.0 12.1 12.2 "Team statistics" (PDF). UEFA.com. Union of European Football Associations. 21 August 2020. สืบค้นเมื่อ 21 August 2020.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]