มาสค์ไรเดอร์ดับเบิล RETURNS

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

มาสค์ไรเดอร์ดับเบิล RETURNS (ญี่ปุ่น: 仮面ライダーW (ダブル) RETURNSโรมาจิKamen Raidā Daburu Ritānzuทับศัพท์: Kamen Rider Double RETURNS) เป็นภาพยนตร์วีซินีม่า ที่มาจากละครโทคุซัทสึ มาสค์ไรเดอร์ดับเบิล

ภาพรวม[แก้]

มาสค์ไรเดอร์ดับเบิล RETURNS เป็นผลงานออริจินอลวิดีโอชุดแรกของซีรีส์มาสค์ไรเดอร์ยุคเฮย์เซย์ถูกทำมาทั้งหมด 2 ตอนด้วยกันคือ มาสค์ไรเดอร์แอ็คเซล (ญี่ปุ่น: 仮面ライダーアクセルโรมาจิKamen Raidā Akuseruทับศัพท์: Kamen Rider Accel) วางจำหน่ายเมื่อวันที่ 21 เมษายน ค.ศ. 2011[1][2] และ มาสค์ไรเดอร์เอเทอร์นัล (ญี่ปุ่น: 仮面ライダーエターナルโรมาจิKamen Raidā Etānaruทับศัพท์: Kamen Rider Eternal) วางจำหน่ายเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม ค.ศ. 2011[3][4] โดยออริจินอลวิดีโอชุดนี้ถูกประกาศในช่วงทีวีซีรีส์ที่ออกอากาศในตอนสุดท้าย จนกลายเป็นธรรมเนียมของซีรีส์มาสค์ไรเดอร์ผลงานชุดหลัง[a] นอกจากนี้ยังเป็นภาคแยกที่มีตัวละครเสริมจากทีวีซีรีส์และภาพยนตร์มาเป็นตัวละครหลักในเรื่อง แล้วยังเป็นผลงานแรกของซีรีส์ที่มีตัวละครศัตรูเป็นตัวละครหลักอีกด้วย

เนื้อเรื่อง[แก้]

มาสค์ไรเดอร์แอ็คเซล[แก้]

มาสค์ไรเดอร์เอเทอร์นัล[แก้]

ตัวละคร[แก้]

ในส่วนตัวละครหลักดูเพิ่มเติมที่ รายชื่อตัวละครในมาสค์ไรเดอร์ดับเบิล

ตัวละครจากมาสค์ไรเดอร์แอ็คเซล[แก้]

คาสึรากิ อาโออิ (葛木 葵)
โอโนะ ยูคิฮิโระ (大野 幸弘)
ซางามิ ฮิโรชิ (相模 広志) / คอมมานด์เดอร์ โดพันท์ (コマンダー・ドーパント)
มาซารุ (マサル)
คุณครู (先生)
พ่อของอาโออิ (葵の父親)
โนบุ (ノブ) / นิตตะ โนบุเทรุ (新田 信輝)}[5], มิคิ (ミキ) / โฮโซทานิ มิคิเอะ (細谷 美紀恵)}[5]

ตัวละครจากมาสค์ไรเดอร์เอเทอร์นัล[แก้]

มีนะ (ミーナ)
ด็อกเตอร์ โพรสเป็ค (ドクター・プロスペクト) / อายส์ โดพันท์ (アイズ・ドーパント)
รอยด์ (ロイド)
ชิออน (シオン)
ริคิ (リキ), คุณโช (チョウさん), นนโกะ (ノンコ)

มาสค์ไรเดอร์ที่ปรากฏในเฉพาะออริจินอลวิดีโอ[แก้]

มาสค์ไรเดอร์แอ็คเซลบูสเตอร์[แก้]

ร่างที่ใช้ไกอาเมมโมรี่เคียวคะอแดปเตอร์ใส่ลงในแอ็คเซลเมมโมรี่ เป็นร่างเพิ่มพลังของแอ็คเซล สีของชุดเป็นสีเหลือง โล่ของหน้ากากถูกปิดด้วยชัตเตอร์สีเหล็กสีดำ และถูกแทนที่สูญเสียล้อสำหรับไบค์ฟอร์ม มีความสมดุลทั้งด้านพลังและความเร็ว สามารถต่อสู้บนอากาศด้วยบูสเตอร์ที่ติดตั้งอยู่ด้านหลังและช่วงขาทั้ง 2 ข้าง เมื่อทำการบินจะมีไอพ่นสีเหลืองปรากฏออกมาทุกครั้ง โดยวิธีใช้งานนั้นนำแอ็คเซลเมมโมรี่มาติดตั้งลงในไกอาเมมโมรี่เคียวคะอแดปเตอร์

ข้อมูลระดับพลังเบื้องต้น
แอ็กเซล บูสเตอร์
ชื่อญี่ปุ่น アクセルブースター
ชื่อโรมันจิ Akuseru Būsutā
ผู้แปลงร่าง เทรุอิ ริว
เพศ ชาย
โทนสี ██ เหลือง / ██ เงิน
ไกอาเมมโมรี่ แอ็คเซลเมมโมรี่
อุปกรณ์เสริม ไกอาเมมโมรี่เคียวคะอแดปเตอร์
ส่วนสูง 197 ซม.
น้ำหนัก 80 กก.
พลังหมัด 5 ตัน
พลังเตะ 10 ตัน
พลังกระโดด 15000 เมตร
พลังความเร็ว 100 เมตร / 5 วินาที
แม็กซิมัมไดร์ฟ (マキシマムドライブ)
บูสต์สแลชเชอร์ (ブーストスラッシャー)[5][b]

มาสค์ไรเดอร์เอเทอร์นัลเรดแฟลร์[แก้]

ร่างแปลงมาสค์ไรเดอร์ของ คาซุ จุน ที่แปลงร่างด้วย ลอสต์ไดรเวอร์ และ T1 เอเทอร์นัลเมมโมรี่ ในการแปลงร่าง เป็นร่างดั้งเดิมของเอเทอร์นัล มีลักษณะแตกต่างกับบลูแฟลร์ของ ไดโด คัตสึมิ คือ รอยเปลวไฟบนแขนและข้อเท้าเป็นสีแดง รวมถึงไม่มีคอมแบทเบลท์และเอเทอร์นัลโรป

เป็นร่างที่ไม่สมบูรณ์เนื่องจากการใช้งานแม็กซิมั่มไดรฟ์ส่งผลระงับพลังของไกอาเมมโมรี่ได้ครั้งล่ะ 1 ชิ้นและมีผลแค่ชั่วคราวเท่านั้น[6][7]

โดพันท์ที่ปรากฏในเฉพาะออริจินอลวิดีโอ[แก้]

คอมมานด์เดอร์ โดพันท์ (コマンダー・ドーパント)
อายส์ โดพันท์ (アイズ・ドーパント)

ข้อมูลอื่นๆ[แก้]

แอ็คเซล
ไกอาเมมโมรี่เคียวคะอแดปเตอร์ (ガイアメモリ強化アダプター)
เอเทอร์นัล
ควอตซ์ (クオークス)
วิลเลจ (ビレッジ)

อ้างอิง[แก้]

  1. Uchusen, Vol. 131
  2. Hyper Hobby, March 2011
  3. Tokusatsu Newtype, April 2011
  4. Uchusen, vol. 132
  5. 5.0 5.1 5.2 超全集 2011, p. 138.
  6. 「宇宙船vol.136特別付録 宇宙船 YEARBOOK 2012」、p11
  7. 英雄伝II 2014, p. 58.

อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "end" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "仮面俳優123" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "newtype201104" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "完全超悪301" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "yokoku" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า

อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "YouTubefree" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า

หมายเหตุ[แก้]

  1. 仮面ライダー電王』の放送終了後に制作された2008年の映画『劇場版 仮面ライダー電王&キバ クライマックス刑事』は、当初Vシネマ作品の予定だった。
  2. S.H.Figuarts「仮面ライダーアクセルブースター」の箱裏には「ブースタースラッシャー」と表記されているなど、媒体による相違が見られる。