ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
ป้ายระบุ: ย้อนด้วยมือ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{pp|small=yes}}
{{กล่องข้อมูล ผู้นำประเทศ
{{กล่องข้อมูล ผู้นำประเทศ
| honorific-prefix = [[ศาสตราจารย์]]
| honorific-prefix = [[ศาสตราจารย์]]
| name = สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์
| name = สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์
| honorific-suffix = <br>[[เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย|ป.ม.]], [[เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก|ท.ช.]]
| honorific-suffix = <br>[[เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย|ป.ม.]], [[เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก|ท.ช.]]
| image = Suchatvee Suwansawat 14 Oct 2022.jpg
| image = Suchatvee Suwansawat 14 Oct 2022.jpg
| caption =สุชัชวีร์ในปี 2565
| caption = สุชัชวีร์ใน พ.ศ. 2565
| order2 = [[สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง#ทำเนียบผู้ประศาสน์การและอธิการบดี|อธิการบดีสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง]]
| order2 = [[สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง#ทำเนียบผู้ประศาสน์การและอธิการบดี|อธิการบดีสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง]]
| term_start2 = 2 ตุลาคม พ.ศ. 2558 <ref name="RT1"> {{Cite report |title= ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งอธิการบดีสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง |url=https://ratchakitcha2.soc.go.th/pdfdownload/?id=17123390 | publisher=[[ราชกิจจานุเบกษา]] |edition=เล่ม 137 |chapter= ตอนพิเศษ 49 ง. | page=8|date=2 March 2020 |language=Th }}</ref>
| term_start2 = 2 ตุลาคม พ.ศ. 2558<ref name="RT1"> {{Cite report |title= ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งอธิการบดีสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง |url=https://ratchakitcha2.soc.go.th/pdfdownload/?id=17123390 | publisher=[[ราชกิจจานุเบกษา]] |edition=เล่ม 137 |chapter= ตอนพิเศษ 49 ง. | page=8|date=2 March 2020 |language=Th }}</ref>
| term_end2 = 12 ธันวาคม พ.ศ. 2564<ref>{{Cite web|date=9 Dec 2021|title=“พี่เอ้ ดร.สุชัชวีร์” ลาออกจากอธิการบดีสจล.|url=https://www.pptvhd36.com/news/การเมือง/162186|url-status=live|website=pptvhd36.com|language=th}}</ref>
| term_end2 = 12 ธันวาคม พ.ศ. 2564<ref>{{Cite web|date=9 Dec 2021|title=“พี่เอ้ ดร.สุชัชวีร์” ลาออกจากอธิการบดีสจล.|url=https://www.pptvhd36.com/news/การเมือง/162186|url-status=live|website=pptvhd36.com|language=th}}</ref>
| predecessor2 = ศาสตราจารย์ โมไนย ไกรฤกษ์ <br>{{เทาเล็ก|(รักษาราชการแทน)}}
| predecessor2 = ศาสตราจารย์ [[โมไนย ไกรฤกษ์]] <br>{{เทาเล็ก|(รักษาราชการแทน)}}
| successor2 = รองศาสตราจารย์ อนุวัฒน์ จางวนิชเลิศ <br>{{เทาเล็ก|(รักษาราชการแทน)}}
| successor2 = รองศาสตราจารย์ [[อนุวัฒน์ จางวนิชเลิศ]] <br>{{เทาเล็ก|(รักษาราชการแทน)}}
| order3 = [[สภาวิศวกร|นายกสภาวิศวกร]]
| order3 = [[สภาวิศวกร|นายกสภาวิศวกร]]
| term_start3 = 19 มีนาคม 2562<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [https://ratchakitcha2.soc.go.th/pdfdownload/?id=17076774 ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งกรรมการในคณะกรรมการสภาวิศวกร [จำนวน ๕ ราย ๑. นายสุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ ฯลฯ]], เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๙๕ ง หน้า ๕, ๑๗ เมษายน ๒๕๖๒</ref>
| term_start3 = 19 มีนาคม พ.ศ. 2562<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [https://ratchakitcha2.soc.go.th/pdfdownload/?id=17076774 ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งกรรมการในคณะกรรมการสภาวิศวกร [จำนวน ๕ ราย ๑. นายสุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ ฯลฯ]], เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๙๕ ง หน้า ๕, ๑๗ เมษายน ๒๕๖๒</ref>
| term_end3 = 8 ธันวาคม 2564<ref name="SP1"/>
| term_end3 = 8 ธันวาคม พ.ศ. 2564<ref name="SP1"/>
| predecessor3 = กมล ตรรกบุตร<ref>{{cite web |title=คณะกรรมการสภาวิศวกร สมัยที่ 6 (2558-2561) |url=https://coe.or.th/about/engineer-g6/ |author= |website= [[สภาวิศวกร]] |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221115040604/https://coe.or.th/about/engineer-g6/|archive-date=2022-11-15 |date=2015|access-date=2022-11-15 |language=th }}</ref>
| predecessor3 = [[กมล ตรรกบุตร]]<ref>{{cite web |title=คณะกรรมการสภาวิศวกร สมัยที่ 6 (2558-2561) |url=https://coe.or.th/about/engineer-g6/ |author= |website= [[สภาวิศวกร]] |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221115040604/https://coe.or.th/about/engineer-g6/|archive-date=2022-11-15 |date=2015|access-date=2022-11-15 |language=th }}</ref>
| successor3 = รองศาสตราจารย์ [[ปิยะบุตร วานิชพงษ์พันธุ์]]<ref>{{cite news |title = คณะกรรมการสภาวิศวกร ได้มีมติเลือก รองศาสตราจารย์ ปิยะบุตร วาณิชพงษพันธุ์ ดำรงตำแหน่งนายกสภาวิศวกร |url= https://m.facebook.com/coethailand/photos/a.108208687412134/443542260545440/|author= สภาวิศวกร - Council of Engineers Thailand |website= |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221115034427/https://m.facebook.com/coethailand/photos/a.108208687412134/443542260545440/ |archive-date=2022-11-15 |date=2021-12-09|access-date=2022-11-15 |language=th }}</ref>
| successor3 = รองศาสตราจารย์ ปิยะบุตร วานิชพงษ์พันธุ์<ref>{{cite news |title=
| birth_title =
คณะกรรมการสภาวิศวกร ได้มีมติเลือก รองศาสตราจารย์ ปิยะบุตร วาณิชพงษพันธุ์ ดำรงตำแหน่งนายกสภาวิศวกร |url= https://m.facebook.com/coethailand/photos/a.108208687412134/443542260545440/|author= สภาวิศวกร - Council of Engineers Thailand |website= |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221115034427/https://m.facebook.com/coethailand/photos/a.108208687412134/443542260545440/ |archive-date=2022-11-15 |date=2021-12-09|access-date=2022-11-15 |language=th }}</ref>
| birth_date = {{วันเกิดและอายุ|2515|4|20}}
| birth_title =
| birth_place = [[อำเภอศรีราชา]] [[จังหวัดชลบุรี]] ประเทศไทย
| birth_date = {{วันเกิดและอายุ|2515|4|20}} <ref name="SP1">{{cite news |title=เปิดประวัติ สุชัชวีร์ (ดร.เอ้) "The Disruptor เมืองไทย" |url= https://www.springnews.co.th/infographic/822942 |author= NATT W. |website= [[สปริงนิวส์]] |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221115035251/https://www.springnews.co.th/infographic/822942 |archive-date=2022-11-15 |date=2022-04-07|access-date=2022-11-15 |language=th }}</ref>
|constituency| party = [[พรรคประชาธิปัตย์|ประชาธิปัตย์]]
| birth_place = [[อำเภอศรีราชา]] [[จังหวัดชลบุรี]] ประเทศไทย<ref name="SP1"/>
| spouse = [[สวิตา สุวรรณสวัสดิ์]]
|constituency| party = [[พรรคประชาธิปัตย์|ประชาธิปัตย์]]
| occupation = {{hlist|[[นักการเมือง]]|[[วิศวกร]]|[[นักวิชาการ]]|[[อาจารย์]]}}
| spouse = สวิตา สุวรรณสวัสดิ์
| alma_mater = {{ubl|[[ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง]] ([[วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต|วศ.บ.]])|[[มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน แมดิสัน]] ([[ปริญญาโท|วท.ม]]) |[[สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์]] ([[ปริญญาโท|วท.ม]]), ([[ปริญญาเอก|วท.ด]])}}
| occupation = {{hlist|[[นักการเมือง]]|[[วิศวกร]]|[[นักวิชาการ]]|[[อาจารย์]]}}
| signature = Signature of Professor Suchatvee Suwansawat, Ph.D.png
| alma_mater = {{ubl|[[ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง]] ([[วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต|วศ.บ.]])|[[มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน แมดิสัน]] ([[ปริญญาโท|วท.ม]]) |[[สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์]] ([[ปริญญาโท|วท.ม]]), ([[ปริญญาเอก|วท.ด]])}}
| website = {{unbulleted list|{{URL|https://www.suchatvee.org|suchatvee.org}}}}
| signature =Signature of Professor Suchatvee Suwansawat, Ph.D.png
| website = {{unbulleted list|{{URL|https://www.suchatvee.org|suchatvee.org}}}}
| สังกัด =
| เหล่าทัพ =
| รับราชการทหาร =
| ยศ =
| หน่วยทหาร =
| บัญชาการ =
| สงคราม =
| รางวัล =
| footnotes =
| footnotes =
}}
}}


'''สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์''' ({{ชื่อเล่น|เอ้}} เกิด 20 เมษายน พ.ศ. 2515) เป็น[[ศาสตราจารย์]] ในสาขา [[วิศวกรรมโยธา]] [[วิศวกร]] [[นักวิชาการ]] และ[[นักการเมือง]]ชาวไทย เขายังเคยดำรงตำแหน่งเป็น[[อธิการบดี]] [[สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง]] ลำดับที่ 6 โดยดำรงตำแหน่ง 2 สมัยระหว่างปี 2558 ถึง 2564 และยังเคยดำรงตำแหน่งนายกสภาวิศวกร นายกวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย และประธานที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย ก่อนเปิดตัวเข้าร่วมและลงสมัครรับเลือกตั้ง[[ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร]]ในนาม[[พรรคประชาธิปัตย์]]<ref>{{Cite web|date=2021-12-14|title=เตรียมตัวมา 30 ปี "สุชัชวีร์" พร้อมชิงผู้ว่าฯ กทม.|url=https://news.thaipbs.or.th/content/310643|website=[[สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส|Thai PBS]]}}</ref>
ศาสตราจารย์ '''สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์''' ({{ชื่อเล่น|เอ้}} เกิด 20 เมษายน พ.ศ. 2515) เป็นวิศวกร นักวิชาการ และนักการเมืองชาวไทย เคยดำรงตำแหน่งอธิการบดี[[สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง]] ลำดับที่ 6 โดยดำรงตำแหน่ง 2 สมัยระหว่างปี 2558 ถึง 2564 และยังเคยดำรงตำแหน่งนายกสภาวิศวกร นายกวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย และประธานที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย ก่อนเปิดตัวเข้าร่วมและลงสมัครรับเลือกตั้งในนาม[[พรรคประชาธิปัตย์]]<ref>{{Cite web|date=2021-12-14|title=เตรียมตัวมา 30 ปี "สุชัชวีร์" พร้อมชิงผู้ว่าฯ กทม.|url=https://news.thaipbs.or.th/content/310643|website=Thai PBS}}</ref>

== ประวัติและการศึกษา ==
== ประวัติและการศึกษา ==
สุชัชวีร์เกิดเมื่อวันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2515 เป็นบุตรชายของ นายธีรศักดิ์ และนางวัลลีย์ สุวรรณสวัสดิ์ ได้รับทุนโควตาช้างเผือกเข้าศึกษาระดับปริญญาตรีที่[[คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง]] จากนั้นได้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท M.Sc. ในสาขา Geotechnical Engineering จากมหาวิทยาลัยวิสคอนซิน แมดิสัน ปริญญาโท M.Sc. ในสาขา Technology and Policy และระดับปริญญาเอก Sc.D. ในสาขา Geotechnical Engineering จากสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ (MIT) ประเทศสหรัฐอเมริกา
สุชัชวีร์เกิดเมื่อวันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2515 ที่ [[อำเภอศรีราชา]] [[จังหวัดชลบุรี]] ประเทศไทย<ref name="SP1"/> บุตรชายของ นายธีรศักดิ์ และนางวัลลีย์ สุวรรณสวัสดิ์ ซึ่งทั้งคู่เป็นครูอาชีวะอยู่ที่ [[จังหวัดระยอง ]]<ref>{{cite news |author=NATT.W |title= เปิดประวัติ สุชัชวีร์ (ดร.เอ้) "The Disruptor เมืองไทย"|url= https://www.springnews.co.th/infographic/822942|website=[[สปริงนิวส์]] |access-date=2022-11-23 |archive-url= https://web.archive.org/web/20221123075636/https://www.springnews.co.th/infographic/822942 |archive-date=2022-11-23|language=Th |date=7 April 2022}}</ref><ref name="TPB">{{cite news |title= ‘Disruptor’ Suchatvee Suwansawat ready to shine his bright light on Bangkok |url= https://www.thaipbsworld.com/disruptor-suchatvee-suwansawat-ready-to-shine-his-bright-light-on-bangkok/ |website= [[สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส|Thai PBS]]|access-date=2022-11-23|language=en |date=14 December 2021|archive-url= |archive-date=|language=th}}</ref>


=== การลงสมัครรับเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ===
สุชัชวีร์ได้เข้าศึกษาในระดับชั้น[[มัธยมศึกษา]]ที่[[โรงเรียนระยองวิทยาคม]] <ref name="TPB"/><ref name="CMK">{{cite web|title="Suchatvee Suwansawat" |url= https://www.cmkl.ac.th/people/suchatvee-suwansawat|url-status=live|archive-url=https://web.archive.org/web/20221031031922/https://www.cmkl.ac.th/people/suchatvee-suwansawat/|archive-date=25 October 2017|access-date=31 October 2022}}</ref> ก่อนเข้าศึกษาต่อในระดับ[[ปริญญาตรี]] สาขา[[วิศวกรรมโยธา|วิศวกรรมการก่อสร้าง]] ที่[[คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง|คณะวิศวกรรมศาสตร์ ]][[สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง]] โดยเขาได้ทำโปรเจคจบเกี่ยวกับ "การออกแบบอุโมงค์รถไฟใต้ดินของ [[กรุงเทพ]]" จากนั้นได้ไปศึกษาระดับ[[ปริญญาโท]] ในสาขา[[วิศวกรรมโยธา]]จากมหาวิทยาลัยวิสคอนซิน แมดิสัน กับ ปริญญาโทสาขาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนโยบาย และระดับ[[ปริญญาเอก]] ในสาขาวิศวกรรมปฐพี จาก [[สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ ]](MIT) [[ประเทศสหรัฐอเมริกา]]<ref>{{cite web|title="Professor Dr. Suchatvee Suwansawat" |url= https://www.bcpggroup.com/en/management-structure/board-of-directors/17/professor-dr-suchatvee-suwansawat |url-status=live|archive-url=https://web.archive.org/web/20221031032501/https://www.bcpggroup.com/en/management-structure/board-of-directors/17/professor-dr-suchatvee-suwansawat|archive-date=31 October 2022|access-date=31 October 2022}}</ref>โดยเขาได้รับทุนจาก[[รัฐบาลไทย]]เพื่อศึกษาต่อในระดับบัณฑิตศึกษา และเป็น[[นักวิชาการ]]ของ[[ไมโครซอฟต์]]ขณะศึกษาอยู่ที่เอ็มไอที<ref name="CMK"/>
ตัวเขามีกระแสข่าวมาหลายปีแล้วว่าเตรียมลงสมัครรับเลือกตั้งในตำแหน่งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร โดยมีการนำเสนอตัวเองและนโยบายต่าง ๆ มาโดยตลอด และในช่วงปลายปี 2564 ก็มีข่าวว่าพยายามมองหาพรรคการเมืองสังกัด จนวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2564 ที่ประชุมคณะกรรมการบริหาร[[พรรคประชาธิปัตย์]]มีมติเป็นเอกฉันท์เห็นชอบให้สุชัชวีร์เป็นผู้สมัครรับเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครในสังกัดของพรรค โดยสุชัชวีร์ได้ยื่นใบลาออกจากตำแหน่งอธิการบดี [[สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง]] มีผลในวันเดียวกัน<ref name=":1">{{Cite news|date=10 Dec 2021|title=“พี่เอ้” สุชัชวีร์ ชายผู้ประกาศตัว “ไม่กลัวทัวร์” ก่อนเปิดตัวลงผู้ว่าฯ กทม.|language=th|work=BBC News ไทย|url=https://www.bbc.com/thai/thailand-59604588|url-status=live|access-date=2022-06-15}}</ref>
== การทำงาน ==
หลังจากนั้นในปี พ.ศ. 2565 สุชัชวีร์ ได้ลงสมัครรับเลือกตั้งใน[[การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2565|การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร]] ในสังกัดพรรคประชาธิปัตย์ แต่ไม่ได้รับเลือกตั้ง
===สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง===
สุชัชวีร์เริ่มอาชีพในตำแหน่ง[[อาจารย์]] ประจำสาขา[[วิศวกรรมโยธา]]ที่[[สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง]]ในปี พ.ศ. 2546<ref name="BBC">{{cite news|title=สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ : จาก "พี่เอ้" อธิการบดี สจล. ผู้ "ไม่กลัวทัวร์" ก่อนเปิดตัวลงผู้ว่าฯ กทม.|url= https://www.bbc.com/thai/thailand-59604588|website=[[BBC]] |url-status=live|archive-url= https://web.archive.org/web/20221101082712/https://www.bbc.com/thai/thailand-59604588|archive-date=1 November 2022 |date= 10 December 2021 |access-date=1 November 2022|language=Th }}</ref> ซึ่งเขามีความเชี่ยวชาญด้านวิศวกรรมธรณีเทคนิค การก่อสร้างใต้ดินและ[[อุโมงค์]]<ref>{{cite web|title=บัญชีรายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อทำหน้าที่ประเมินผลงานทางวิชาการ จริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาการ|url= http://www.basd.mhesi.go.th/Page/Search_Assessment_2.aspx?ctl00_body_RadGrid1ChangePage=255_20 |website= www.basd.mhesi.go.th |url-status=live |date= 27 December 2019 |access-date=1 November 2022|language=Th }}</ref> ซึ่งเขาได้รับแต่งตั้งเป็นผู้ช่วยอธิการบดีในปีเดียวกัน <ref name="MGR">{{cite news|title=หมายเลข 4 ศ.ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ พรรคประชาธิปัตย์|url= https://mgronline.com/politics/detail/9650000044532 |website= mgronline.com |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221101082900/https://mgronline.com/politics/detail/9650000044532 |archive-date=1 November 2022|date=11 May 2022 |access-date=1 November 2022|language=Th }}</ref>
== ข้อวิพากษ์วิจารณ์ ==

ในปี พ.ศ. 2553 สุชัชวีร์ได้รับการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเป็น[[ศาสตราจารย์]]ด้าน[[วิศวกรรมโยธา]]ที่ [[สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง]]<ref>{{Cite report |title= ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งศาสตราจารย์ |url= https://ratchakitcha2.soc.go.th/pdfdownload/?id=1946901| publisher=[[ราชกิจจานุเบกษา]]|edition=เล่มที่ 129 |chapter=ตอนพิเศษ 166 ง. |page=9|date=31 October 2012 |language=Th }}</ref> และคณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ในปีเดียวกัน <ref name="MGR"/>

สุชัชวีร์ได้รับการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งอธิการบดี [[สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง]] สมัยแรกในปี พ.ศ. 2558 <ref name="RT1"/> และดำรงตำแหน่งสมัยที่สองในปี พ.ศ. 2562 <ref>{{Cite report |title= ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งอธิการบดีสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง |url=https://ratchakitcha2.soc.go.th/pdfdownload/?id=17123390 | publisher=[[ราชกิจจานุเบกษา]] |edition=เล่มที่ 137 |chapter= ตอนพิเศษ 49 ง. | page=8|date=2 March 2020 |language=Th }}</ref>

ในระหว่างที่เขาดำรงตำแหน่งอธิการบดี สจล.ได้มีการสร้างความร่วมมือด้านการวิจัยและการศึกษากับ[[มหาวิทยาลัยคาร์เนกีเมลลอน]] ทำให้เกิดการจัดตั้ง [[มหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล]] ขึ้นในปี พ.ศ. 2560<ref>{{cite news |first1=Krista |last1=Burns |title= CMU and KMITL Announce Research and Education Collaboration |url= https://www.cmu.edu/news/stories/archives/2017/november/thailand-collaboration.html |website=Carnegie Mellon University |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20220901033106/https://www.cmu.edu/news/stories/archives/2017/november/thailand-collaboration.html |archive-date=1 November 2022|date= 28 November 2017 |access-date=1 November 2022|language=en }}</ref> <ref>{{cite news |title= CMKL’s AI Supercomputer Leads the Battle Against COVID-19|url=https://www.bangkokpost.com/thailand/pr/2200451/cmkls-ai-supercomputer-leads-the-battle-against-covid-19 |website=[[บางกอกโพสต์]] |url-status=live |date= 19 October 2021 |access-date=1 November 2022|language=en }}</ref> มีการจัดตั้ง Kosen-KMITL เพื่อพัฒนากำลังคนด้านเทคโนโลยี วิศวกรรม และนวัตกรรมภายใต้บันทึกความเข้าใจระหว่างสถาบัน[[โคเซ็น]]กับสจล..<ref>{{cite web |title= Kosen-KMITL History |url= http://www.kosen.kmitl.ac.th/en/home/history |website= Kosen-KMITL |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221101093832/http://www.kosen.kmitl.ac.th/en/home/history|archive-date=1 November 2022|date= 2019|access-date=1 November 2022|language=en }}</ref><ref>{{cite news |title= ศธ.ผุดสถาบันไทยโคเซ็น ผลิตวิศวกรนักปฏิบัติป้อน EEC |url= https://www.prachachat.net/education/news-272066|website=[[ประชาชาติ]] |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221101094644/https://www.prachachat.net/education/news-272066 |archive-date=1 November 2022|date= 30 December 2018|access-date=1 November 2022|language=th }}</ref><ref name="THS">{{cite news |first1=ฐานเศรษฐกิจ |last1=ดิจิทัล |title= รู้จัก สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ อดีตอธิการบดี สจล. สู่สนามเลือกตั้งกทม. |url= https://www.thansettakij.com/politics/519562|website= [[ฐานเศรษฐกิจ]] |url-status= |date= 31 March 2022|access-date=1 November 2022|language=th }}</ref> จัดตั้งสถาบันสอนการเขียนโปรแกรม [[42 บางกอก]] ที่สจล. ผ่านบันทึกความเข้าใจระหว่างสจล. กับ สถาบันEcole 42 [[ปารีส]]ประเทศ[[ฝรั่งเศส]] ในปี พ.ศ. 2562 <ref>{{cite web |title= The Founding of 42 Bangkok |url= https://www.42bangkok.com/about-us/ |website=42 Bangkok |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221101093056/https://www.42bangkok.com/about-us/|archive-date=1 November 2022|date= 15 October 2019 |access-date=1 November 2022|language=en }}</ref><ref>{{cite news |title="Ecole 42 Bangkok" เรียนฟรีนักโปรแกรมเมอร์ระดับโลก|url= https://www.bangkokbiznews.com/social/860348 |website= Bangkokbiznews |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221101093415/https://www.bangkokbiznews.com/social/860348 |archive-date=1 November 2022|date= 3 January 2020 |access-date=1 November 2022|language=th }}</ref> ริเริ่มจัดสร้างโรงพยาบาลพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ซึ่งเขายังมีตำแหน่งเป็นประธานมูลนิธิในปี พ.ศ. 2564 <ref>{{Cite report |title= Notification of King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang Re: Establishment of Divisions of King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang (No.18), B.E. 2564 (A.D. 2021) |url=https://law.kmitl.ac.th/wp-content/uploads/2022/05/4.17-%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A8%E0%B8%AA%E0%B8%96%E0%B8%B2%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%99-%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87-%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%99%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%96%E0%B8%B2%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%99-%E0%B8%89.18-%E0%B8%9E.%E0%B8%A8.-2564.pdf| publisher= [[ราชกิจจานุเบกษา]] |edition=เล่ม 138 |chapter= ตอนพิเศษ 49 ง. | page=67|date=28 January 2021 |language=en }}</ref>เพื่อรักษาและสนับสนุนศูนย์วิจัยนวัตกรรมทางการแพทย์ครบวงจร ทำให้ภาครัฐลดการนำเข้าเทคโนโลยีทางการแพทย์จากต่างประเทศ กระจายความช่วยเหลือโรงพยาบาลทั้งในประเทศและต่างประเทศ และสามารถต่อยอดนวัตกรรมทางการแพทย์สู่เชิงพาณิชย์ได้ในอนาคต<ref>{{cite web|title=ประวัติความเป็นมา|url= https://kmchf-pp.org/%e0%b8%9b%e0%b8%a3%e0%b8%b0%e0%b8%a7%e0%b8%b1%e0%b8%95%e0%b8%b4%e0%b8%84%e0%b8%a7%e0%b8%b2%e0%b8%a1%e0%b9%80%e0%b8%9b%e0%b9%87%e0%b8%99%e0%b8%a1%e0%b8%b2/ |website= KMCHF |url-status=live |access-date=2 November 2022|language=Th }}</ref><ref>{{cite news |title= สจล.รุกตั้ง "โรงพยาบาลพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร" เป็นศูนย์การแพทย์ |url= https://www.thairath.co.th/news/local/2074365 |website=[[ไทยรัฐ]] |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221102025317/https://www.thairath.co.th/news/local/2074365|archive-date=2 November 2022| date= 22 April 2021 |access-date=2 November 2022|language=th }}</ref><ref>{{cite news |author=โซเชียลนิวส์ |title= สจล. เดินเครื่องก่อสร้าง "รพ. พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร" คาดแล้วเสร็จใน 2 ปี หนุนการเข้าถึงระบบสาธารณสุข และ นวัตกรรมทางการแพทย์|url= https://www.mcot.net/view/ipVwkmJw |website= [[MCOT]] |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221102024255/https://www.mcot.net/view/ipVwkmJw |archive-date=2 November 2022|date= 19 October 2021 |access-date=2 November 2022|language=th }}</ref> นอกจากนี้ยังมีการจัดตั้งคณะและวิทยาลัยใหม่ทั้ง [[คณะแพทยศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง|คณะแพทยศาสตร์]] <ref>{{cite news |title= "วิศวลาดกระบัง "ยืนหนึ่งหลักสูตรมากสุด เป้ายกระดับเป็น 1ใน10อาเซียน |url= https://www.komchadluek.net/news/483126 |author= |website= [[คมชัดลึก]] |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221111075951/https://www.komchadluek.net/news/483126 |archive-date=2022-11-11 |date=2021-09-11|access-date=2022-11-11 |language=th }}</ref><ref>{{cite news |title= KMITL opens international program in medical science |url= https://thainews.prd.go.th/th/news/detail/WNSOC6103010010035 |author= Thammarat Thadaphrom |website= Nation News Bureau of Thailand |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221111075517/https://thainews.prd.go.th/th/news/detail/WNSOC6103010010035 |archive-date=2022-11-11 |date=2018-03-01|access-date=2022-11-11 |language=en }}</ref> ทำให้ สจล. กลายเป็นมหาวิทยาลัยแห่งที่ 22 ของไทยที่มีคณะแพทยศาสตร์<ref name=":1" /> วิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต (IMSE) <ref>{{cite news |title= "วิศวลาดกระบัง "ยืนหนึ่งหลักสูตรมากสุด เป้ายกระดับเป็น 1ใน10อาเซียน |url= https://www.komchadluek.net/news/483126 |author= |website= [[คมชัดลึก]] |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221111075951/https://www.komchadluek.net/news/483126 |archive-date=2022-11-11 |date=2021-09-11|access-date=2022-11-11 |language=th }}</ref>โรงเรียนสาธิตนานาชาติพระจอมเกล้า (KMIDS). <ref>{{cite news |title= The Bangkok gubernatorial election explained |url= https://www.thaienquirer.com/35970/the-bangkok-gubernatorial-election-explained |author= Ken Mathis Lohatepanont |website= Thai Enquirer |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221111080707/https://www.thaienquirer.com/35970/the-bangkok-gubernatorial-election-explained/ |archive-date=2022-11-11 |date=2021-12-20|access-date=2022-11-11 |language=en }}</ref><ref>{{cite news |title= เอ้ สุชัชวีร์ บนเก้าอี้อธิการบดี : การพลิกโฉม สจล. สู่มหาวิทยาลัยชั้นนำ |url= https://www.springnews.co.th/news/824104|author= |website= [[สปริงนิวส์]] |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221111081239/https://www.springnews.co.th/news/824104 |archive-date=2022-11-11 |date=2022-05-06|access-date=2022-11-11 |language=th }}</ref>

ในระหว่างที่สุชัชวีร์ดำรงตำแหน่งอธิการบดี สจล. เขาได้รับเลือกเป็นประธานที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย(ทปอ.) 2 วาระติดต่อกันs<ref>{{cite web |title=เกี่ยวกับเรา รายชื่อประธาน |url=http://www.cupt.net/aboutus/ |author= CUPT |website= Council of University Presidents of Thailand (CUPT) |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221103073816/http://www.cupt.net/aboutus/ |archive-date=2022-11-03 |date=2022 |access-date=2022-11-03 |language=th }}</ref> ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2560 <ref>{{cite news |title=ทปอ. เดินหน้าบทบาท มหาวิทยาลัย 4.0 เลือก 'สุชัชวีร์' นั่ง ปธ.คนใหม่ |url= https://www.thairath.co.th/content/697283 |author= |website=[[ไทยรัฐ]] |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221103073816/http://www.cupt.net/aboutus/ |archive-date=2022-11-03 |date=2016-08-21 |access-date=2022-11-03 |language=th }}</ref> - 2563 <ref>{{cite news |title='ทปอ.' ยก 'สุชัชวีร์' อธิการ สจล. นั่งเก้าอี้ต่อ ดัน ทีแคส คัดนศ.เข้ามหาวิทยาลัย ปี 62 |url=https://www.khaosod.co.th/special-stories/news_1466878|author= |website= [[ข่าวสด]] |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221103075332/https://www.khaosod.co.th/special-stories/news_1466878 |archive-date=2022-11-03 |date=2018-08-20 |access-date=2022-11-03 |language=th }}</ref>

ในปี พ.ศ. 2561 ขณะที่เขาได้ดำรงตำแหน่งประธานทปอ. ได้มีการประกาศให้มีการเปลี่ยนระบบ[[การรับบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย|การสอบคัดเลือกบุคคลเพื่อเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา]] จากเดิมที่ใช้ระบบ Admission เป็นระบบ TCAS โดยการเปลี่ยนระบบดังกล่าวมีจุดมุ่งหมายเพื่อลดการวิ่งรอกสอบ ลดความเหลื่อมล้ำและช่วยให้นักเรียนอยู่ในห้องจนจบการศึกษา<ref>{{Cite web|date=2017-06-01|title=เปลี่ยนชื่อระบบรับนศ.'แอดมิชชั่น'เป็น'TCAS'|url=https://www.dailynews.co.th/education/577321|website=dailynews|language=th}}</ref> แต่ในปีแรกที่เริ่มใช้ระบบนั้นมีปัญหาเกิดขึ้นเป็นจำนวนมาก ทั้งปัญหาระบบล่ม<ref>{{Cite web|date=2018-05-09|title=วันแรกก็ล่มแล้ว!! สมัครเข้ามหา'ลัย ระบบ TCAS รอบ 3 นร.บ่นอนาคตเนี่ยจะล่ม|url=https://mgronline.com/qol/detail/9610000045691|website=mgronline.com|language=th}}</ref> ความสับสนของนักเรียนและผู้ปกครองในการใช้ระบบ รวมไปถึงปัญหาด้านที่นั่ง ซึ่งเกิดจากการที่ผู้เข้าสอบคะแนนสูงสามารถเลือกคณะที่ต้องการเข้าศึกษาได้ และยังสามารถสำรองที่นั่งให้ตัวเองได้ ทำให้จำนวนที่นั่งที่มหาวิทยาลัยเปิดรับนั้นเต็มอย่างรวดเร็ว และมีนักเรียนเดือดร้อนเป็นจำนวนมาก เพราะไม่สามารถเลือกคณะที่ต้องการได้<ref>{{Cite web|last=|date=2018-05-30|title=ปัญหา 'กั๊กที่นั่ง' ที่ระบบบังคับ- เมื่อ "TCAS" ระบบสอบเข้ามหาวิทยาลัย ทำเด็ก 'ปวดหัว'|url=https://www.khaosod.co.th/special-stories/news_1147915|url-status=live|website=ข่าวสด|language=th}}</ref> การเปลี่ยนระบบนี้สร้างความไม่พอใจในหมู่ผู้ปกครอง นักเรียน และบุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้อง เพราะเกิดขึ้นอย่างกระชั้นชิด โดยมีเวลาการทำความเข้าใจและปรับตัวกับระบบเพียง 4 เดือน อีกทั้งเวลาในการเตรียมตัวสอบหลังจากเปลี่ยนระบบใหม่มีเพียงแค่ 1 เดือน นอกจากนี้ ค่าสมัครสอบก็ไม่ได้ลดลงแต่อย่างใด และระบบ TCAS ยังมีการวิพากษ์วิจารณ์ว่า ขาดการมีส่วนรวมของนักเรียนในการออกแบบระบบตั้งแต่ต้น<ref>{{Cite web|date=2018-06-13|title=ชำแหละจุดอ่อน TCAS ภาระหนักอึ้งของ #Dek61 สะท้อนปัญหาใหญ่ระบบการศึกษาไทย|url=https://thestandard.co/admission-system-tcas-dek61/|website=THE STANDARD|language=th}}</ref><ref>{{Cite web|date=2018-06-13|title=กลับตัวก็ไม่ได้ จะเดินต่อไปยังไงให้ถึง? เข้าใจ TCAS และตามหาทางออกของระบบสอบเข้ามหาวิทยาลัยเจ้าปัญหา|url=https://adaymagazine.com/report-tcas-dek61/|website=a day magazine|language=th}}</ref><ref>{{Cite web|date=2018-05-31|title=TCAS 61 ลงทุนเพื่ออนาคตไป ฉันได้อะไรมา|url=https://waymagazine.org/classroom34/|url-status=live|website=waymagazine.org|language=th}}</ref><ref>{{Cite web|last=|first=|date=1 Jun 2018|title=บทเรียนเจ็บปวด TCAS : ผู้ใหญ่คิด แต่เด็กรับกรรม|url=https://www.voicetv.co.th/read/H1rhpVCym|url-status=live|website=VoiceTV|language=th}}</ref>

ในปี พ.ศ. 2562 – พ.ศ. 2563 เขาได้รับแต่งตั้งให้เป็นประธานสมาคมสถาบันอุดมศึกษาแห่งเอเซียตะวันออกเฉียงใต้<ref>{{cite web |title=Presidents of ASAIHL|url= https://asaihl.stou.ac.th/page/Showdata.aspx?idindex=15228|website=Association of Southeast Asian Institutions of Higher Learning|url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221103072933/https://asaihl.stou.ac.th/page/Showdata.aspx?idindex=15228 |archive-date=2022-11-03 |date=2021|access-date=2022-11-03 |language=en }}</ref> ซึ่งเป็น[[องค์การนอกภาครัฐ]](NGO) ซึ่งเป็นองค์กรที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อช่วยเหลือสถาบันสมาชิกในการเสริมความแข็งแกร่งให้กับตนเองผ่านการช่วยเหลือร่วมกัน ให้สามารถบรรลุความแตกต่างในด้านการสอน การวิจัย และการบริการสาธารณะ ระหว่างสมาชิกสถาบันในประเทศของตนและประเทศอื่นๆที่อยู่ใน[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] <ref>{{cite web|title=Contact US|url=http://asaihl.stou.ac.th/page/Showdata.aspx?idindex=44249|website= Association of Southeast Asian Institutions of Higher Learning |access-date=8 November 2022}}</ref>
===วิศวกร===
ระหว่างศึกษาที่สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ สุชัชวีร์ได้กลับมาประเทศไทยในช่วงปี 2542-2543 เพื่อทำงานเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านวิศวกรรมปฐพี ใน[[รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล|โครงการรถไฟฟ้ามหานคร]]<ref name="MIT">{{cite thesis |type=Sc.D. |last=Suwansawat |first=Suchatvee |date=2002 |title=Earth pressure balance (EPB) shield tunneling in Bangkok : ground response and prediction of surface settlements using artificial neural networks |publisher= Massachusetts Institute of Technology |url= http://dspace.mit.edu/handle/1721.1/32222 |access-date=2022-11-09|language=en}}</ref> ณ เวลานั้น เขาได้ก่อตั้งคณะกรรมการยุววิศวกรแห่งประเทศไทย ซึ่งเขาดำรงตำแหน่งประธานคนแรก <ref>{{cite web |title=Engineering Institute of Thailand (Young Engineer chapter) |url=http://afeo.org/yeafeo/yeafeo-thailand/ |author= AFEO |website= The ASEAN Federation of Engineering Organisations (AFEO) |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221109074951/http://afeo.org/yeafeo/yeafeo-thailand/ |archive-date=2022-11-09 |date= |access-date=2022-11-09 |language=en }}</ref> นอกจากนี้เขายังเป็นกรรมการ วิศวกรรมธรณี ของ [[วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์]] ในปี พ.ศ. 2542 <ref name="MIT"/> สุชัชวีร์ยังเป็นสมาชิกของหน่วยงานรัฐบาลที่ตรวจสอบความเสียหายของรันเวย์[[สนามบินสุวรรณภูมิ]] ซึ่งเป็นสนามบินแห่งใหม่ <ref>{{cite news|url=https://www.nytimes.com/2007/02/02/world/asia/02iht-thai.4443883.html |title= Thailand's airport imbroglio grows - Asia - Pacific - International Herald Tribune|first1= Thomas |last1=Fuller |date=February 2, 2007|newspaper=International Herald Tribune|via=The New York Times}}</ref><ref>{{cite web |url=http://www.iht.com/articles/2007/02/02/news/thai.php |title=Thailand's airport imbroglio grows - International Herald Tribune |website=www.iht.com |url-status=dead |archive-url=https://web.archive.org/web/20070204133305/http://www.iht.com/articles/2007/02/02/news/thai.php |archive-date=2007-02-04}}</ref>

สุชัชวีร์ได้รับเลือกเป็นประธานของคณะกรรมการงานก่อสร้างใต้ดินและอุโมงค์ (Thailand Underground and Tunneling Group:TUTG) ในปี พ.ศ. 2555 <ref>{{cite web |title=WTC Bangkok extends official welcome to ITA |url=https://www.tunneltalk.com/WTC2012-Feb12-Official-welcome-from-Thailand.php |author=TunnelTalk |website=TunnelTalk |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221109075859/https://www.tunneltalk.com/WTC2012-Feb12-Official-welcome-from-Thailand.php |archive-date=2022-11-09 |date=2012 |access-date=2022-11-09 |language=en }}</ref> ในฐานะที่เขาเป็นสมาชิกของสมาคมอุโมงค์และพื้นที่ใต้ดินนานาชาติ(International Tunneling and Underground Space Association:ITA) ซึ่งเป็นองค์กรระดับโลกที่ส่งเสริมการใช้พื้นที่ใต้ดินเพื่อประโยชน์ของมนุษย์และสิ่งแวดล้อม <ref>{{cite news |title=The Thailand Underground and Tunnelling Group (TUTG) of the Engineering Institute of Thailand, under His Majesty the King's Patronage, says the country has the potential to become a hub for Asean underground and tunnel construction, provided it receives m |url=https://www.nationthailand.com/business/30182587 |author= |website= [[เนชั่นทีวี]] |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221109080330/https://www.nationthailand.com/business/30182587 |archive-date=2022-11-09 |date=2012-05-22|access-date=2022-11-09 |language=en }}</ref>

ในปี พ.ศ. 2557 เขาได้รับเลือกเป็นนายก[[วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์]]<ref>{{cite press release |title=กิจกรรมของสภาวิศวกร: แสดงความยินดีกับนายกวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย |url= https://coe.or.th/wp-content/uploads/2021/12/COE-Newsletter5702.pdf |author=PR COE | publisher = The Council of Engineers Thailand |website= |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221109080905/https://coe.or.th/wp-content/uploads/2021/12/COE-Newsletter5702.pdf |archive-date=2022-11-09 |date=2014-01-21 |access-date=2022-11-09 |language=th }}</ref> โดยมีวาระปี พ.ศ. 2557-2559 <ref>{{cite report |title=คำสั่งวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ที่ 001/2557 | chapter= แต่งตั้งลงนามและมอบหมายหน้าที่คณะกรรมการอำนวยการ วาระปี พ.ศ.2557-2559 |url=http://intranet.dcy.go.th/book/book_uploads/8344/%E0%B8%AA%E0%B8%97.0177.pdf | publisher = The Engineering Institute of Thailand |website= Department of Children and Youth |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221109081546/http://intranet.dcy.go.th/book/book_uploads/8344/%E0%B8%AA%E0%B8%97.0177.pdf |archive-date=2022-11-09 |date=2014-01-02 |access-date=2022-11-09 |language=th }}</ref>

สุชัชวีร์ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นหนึ่งในกรรมการ[[สภาวิศวกร]] ในปี พ.ศ. 2558 <ref>{{Cite report |title= ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งกรรมการในคณะกรรมการสภาวิศวกร |url= https://ratchakitcha2.soc.go.th/pdfdownload/?id=2057912| publisher=[[ราชกิจจานุเบกษา]] |edition= เล่มที่ 132 |chapter=ตอนพิเศษ 289 ง. |page=1|date=9 November 2015 |language=Th }}</ref>ต่อมาเขาได้รับเลือกให้เป็นนายก [[สภาวิศวกร]] ในปี พ.ศ. 2562 <ref>{{Cite report |title= ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งกรรมการในคณะกรรมการสภาวิศวกร |url= https://ratchakitcha2.soc.go.th/pdfdownload/?id=17076774 | publisher=[[ราชกิจจานุเบกษา]] |edition= Vol. 136 |chapter=ตอนพิเศษ 95 ง. |page=5|date=17 April 2019 |language=Th }}</ref><ref>{{cite news |title=ศ. ดร. สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ นายกสภาวิศวกร สมัยที่ 7 |url=https://www.engineeringtoday.net/%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%8A%E0%B8%B1%E0%B8%8A%E0%B8%A7%E0%B8%B5%E0%B8%A3%E0%B9%8C-%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B8%AA%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%AA%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B9%8C/|website= Engineering today |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221109084603/https://www.engineeringtoday.net/%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%8A%E0%B8%B1%E0%B8%8A%E0%B8%A7%E0%B8%B5%E0%B8%A3%E0%B9%8C-%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B8%AA%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%AA%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B9%8C/ |archive-date=2022-11-09 |date=2019-04-28|access-date=2022-11-09 |language=th }}</ref><ref>{{cite news |title="ศ.ดร.สุชัชวีร์" ดำรงตำแหน่งนายกสภาวิศวกร สมัยที่ 7 ชูบทบาทยกระดับมาตรฐานวิศวกรให้มีความรับผิดชอบต่อสังคม|url=https://www.ryt9.com/s/prg/2978776 |website= RYT9 |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221109085827/https://www.ryt9.com/s/prg/2978776|archive-date=2022-11-09 |date=2019-04-12|access-date=2022-11-09 |language=th }}</ref> โดยเขาได้ลาออกในปี พ.ศ. 2564 เพื่อลงสมัครรับ [[การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2565|เลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2565]]<ref>{{cite news |title= "ดร.สุชัชวีร์" ลาออกจากสภาวิศวกร ราชกิจจาฯ เผยแพร่ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งกรรมการในคณะกรรมการสภาวิศวกรแทน |url=https://www.nationtv.tv/news/378869618 |website= [[เนชั่นทีวี]] |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221109090316/https://www.nationtv.tv/news/378869618 |archive-date=2022-11-09 |date=2022-04-09|access-date=2022-11-09 |language=th }}</ref>
===บทบาทอื่น ๆ===
เมื่อวันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2551 สุชัชวีร์ได้รับการแต่งตั้งจาก[[คณะรัฐมนตรี]]ให้เป็นกรรมการและได้รับการแต่งตั้งให้เป็น[[โฆษก]]ของคณะกรรมการ [[การรถไฟแห่งประเทศไทย]]<ref>{{Cite report |title= ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งประธานกรรมการและกรรมการอื่นในคณะกรรมการการรถไฟแห่งประเทศไทย |url= https://ratchakitcha2.soc.go.th/pdfdownload/?id=247462 | publisher=[[ราชกิจจานุเบกษา]] |edition= เล่ม 125 |chapter=48 ง. |page=1|date=24 April 2008 |language=Th }}</ref><ref>{{cite news |title=
ข่าวมอนิเตอร์ประจำวันที่ 9 ธันวาคม 2551 |url= https://prachatai.com/journal/2008/12/19273 |author= |website=[[ประชาไท]] |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221114024417/https://prachatai.com/journal/2008/12/19273 |archive-date=2022-11-14 |date=2008-12-09|access-date=2022-11-14 |language=th }}</ref> จนถึง เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2551 <ref>{{cite report |title=State Railway of Thailand Annual Report 2009 | chapter= คณะกรรมการการรถไฟฯ |page=82 |url= https://www.railway.co.th/RailwayMiddleFile/PlanIMG/83/132930969697312016_Annual_Report_of_SRT-2552.pdf |author= | publisher = [[การรถไฟแห่งประเทศไทย]] |website= [[การรถไฟแห่งประเทศไทย]] Official Website |url-status=live |date=2009 |access-date=2022-11-14 |language=th }}</ref>
ในเดือนมกราคม ปี พ.ศ. 2555 สุชัชวีร์ได้รับการแต่งตั้งจาก[[คณะรัฐมนตรี]]ให้เป็นประธานคณะกรรมการ[[การเคหะแห่งชาติ]] <ref>{{Cite report |title= ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งประธานกรรมการและกรรมการอื่นในคณะกรรมการการเคหะแห่งชาติ |url=https://ratchakitcha2.soc.go.th/pdfdownload/?id=1914331 | publisher=[[ราชกิจจานุเบกษา]] |edition=เล่ม 129 |chapter=26 ง. |page=25 |date=31 January 2012 |language=Th }}</ref> โดยเขาได้มีการนำเสนอแผนเปิดตัวโครงการที่พักอาศัย 22 โครงการ จำนวน 7,812 ยูนิต มูลค่า 4,700 ล้านบาท ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2556 <ref>{{cite news |title=NHA ready to launch 22 housing projects |url= https://www.bangkokpost.com/business/352505/nha-ready-to-launch-22-housing-projects |website= [[บางกอกโพสต์]] |url-status=live |date=2013-05-30 |access-date=2022-11-14 |language=en }}</ref> จนกระทั่งเขาได้ลาออกเมื่อวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2556 <ref>{{cite report |title= รายงานประจำปีการเคหะแห่งชาติปี 2556 | chapter= |url= https://www.nha.co.th/wp-content/uploads/2020/12/report_2556.pdf |author= | page=27 |website= [[การเคหะแห่งชาติ]] Official Website |url-status=live |date=2013 |access-date=2022-11-14 |language=th }}</ref>
ในเดือนสิงหาคม ปี พ.ศ. 2557 หัวหน้า [[คณะรักษาความสงบแห่งชาติ]] (คสช.) ได้แต่งตั้งให้เขาเป็นกรรมการ[[องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ]] (ขสมก.)<ref>{{Cite report |title= ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งกรรมการอื่นในคณะกรรมการบริหารกิจการขององค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ |url=https://ratchakitcha2.soc.go.th/pdfdownload/?id=2068019 | publisher=[[ราชกิจจานุเบกษา]] |edition=Vol. 133 |chapter=65 ง. |page=18 |date=17 March 2016 |language=Th }}</ref>คณะกรรมการบริหารขององค์กรได้มีมติแต่งตั้งให้เขาดำรงตำแหน่งประธานกรรมการ คณะอนุกรรมการส่งเสริมการกำกับดูแลกิจการที่ดี <ref>{{cite report |title= Bangkok Mass Transit Authority Annual Report 2015 | chapter= Order of the Bangkok Mass Transit Authority No.991-2557 |page=72 |url= http://www.bmta.co.th/sites/default/files/files/download/2558.pdf |author= | publisher = [[องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ]] |website= [[องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ]] Official Website |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221114040848/http://www.bmta.co.th/sites/default/files/files/download/2558.pdf |archive-date=2022-11-14 |date=2015 |access-date=2022-11-14 |language=en }}</ref> จนกระทั่งเขาลาออกเมื่อวันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2559 <ref>{{cite report |title= Bangkok Mass Transit Authority Annual Report 2016 | chapter= BMTA Board of Directors (October 2015-30 September 2016) held a total of 15 meeting |page=92 |url= http://www.bmta.co.th/sites/default/files/files/download/2559.pdf |author= | publisher = [[องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ]] |website= [[องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ]] Official Website |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221114041924/http://www.bmta.co.th/sites/default/files/files/download/2559.pdf |archive-date=2022-11-14 |date=2016 |access-date=2022-11-14 |language=en }}</ref>
ในเดือนมิถุนายน ปีพ.ศ. 2561 [[คณะรัฐมนตรี]] ได้มีมติแต่งตั้งให้เขาดำรงตำแหน่งกรรมการ [[การไฟฟ้านครหลวง]] (กฟน.) <ref>{{Cite report |title= ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งประธานกรรมการและกรรมการอื่นในคณะกรรมการการไฟฟ้านครหลวง |url= https://ratchakitcha2.soc.go.th/pdfdownload/?id=2142933 | publisher=[[ราชกิจจานุเบกษา]] |edition=เล่มที่ 135 |chapter=ตอนพิเศษ 142 ง. |page=9 |date=20 June 2018 |language=Th }}</ref> โดยครบกำหนดวาระในวันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2564 <ref>{{cite report |title= รายงานประจำปีการไฟฟ้านครหลวง 2021 |chapter= คณะกรรมการ การไฟฟ้านครหลวงปี 2564 |page=74 |url= https://www.mea.or.th/e-magazine/detail/2786/465|author= | publisher = [[ การไฟฟ้านครหลวง]] |website= [[ การไฟฟ้านครหลวง]] Official Website |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221114043507/https://www.mea.or.th/e-magazine/detail/2786/465 |archive-date=2022-11-14 |date=2021 |access-date=2022-11-14 |language=th }}</ref>

นอกจากนี้สุชัชวีร์ยังเป็นกรรมการสภา[[มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย]] สมัยแรก วันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555 <ref>{{Cite report |title= ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งกรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย |url= https://ratchakitcha2.soc.go.th/pdfdownload/?id=1870390| publisher=[[ราชกิจจานุเบกษา]] |edition=Vol. 128 |chapter=ตอนพิเศษ 28 ง. |page=26 |date=10 June 2011 |language=Th }}</ref> และสมัยที่สอง วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2560<ref>{{Cite report |title= ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งกรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย |url= https://ratchakitcha2.soc.go.th/pdfdownload/?id=2121980 | publisher=[[ราชกิจจานุเบกษา]] |edition=Vol. 134 |chapter=ตอนพิเศษ 248 ง. |page=3 |date=6 October 2017 |language=Th }}</ref> กรรรมการสภา[[มหาวิทยาลัยรังสิต]] ระหว่างปี พ.ศ. 2559-2564 <ref>{{cite web |title=กรรมการสภามหาวิทยาลัยรังสิต ปี พ.ศ. 2559 |url=https://library.rsu.ac.th/archives/28rsudata_sapa.html |author= หอจดหมายเหตุ [[มหาวิทยาลัยรังสิต]] |website= หอสมุด [[มหาวิทยาลัยรังสิต]] |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221114063753/https://library.rsu.ac.th/archives/28rsudata_sapa.html |archive-date=2022-11-14 |date=2016|access-date=2022-11-14 |language=th }}</ref><ref>{{cite report |title= รายงานการประชุมคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัยรังสิต ครั้งที่ 4/2564 | chapter= |url= https://www2.rsu.ac.th/Upload/File/university-council/%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%8A%E0%B8%B8%E0%B8%A1%E0%B8%84%E0%B8%93%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%95-%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%87%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88-4-2564.pdf |author= | publisher = สภา[[มหาวิทยาลัยรังสิต]] |website= [[มหาวิทยาลัยรังสิต]] Official Website |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221114064145/https://www2.rsu.ac.th/Upload/File/university-council/%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%8A%E0%B8%B8%E0%B8%A1%E0%B8%84%E0%B8%93%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%95-%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%87%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88-4-2564.pdf |archive-date=2022-11-14 |date=2021-09-17 |access-date=2022-11-14 |language=th }}</ref>มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน 2560 <ref>{{Cite report |title= ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งกรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ ของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา |url= https://ratchakitcha2.soc.go.th/pdfdownload/?id=2076799 | publisher=[[ราชกิจจานุเบกษา]] |edition=Vol. 133 |chapter=ตอนพิเศษ 150 ง. |page=19 |date=4 July 2016 |language=Th }}</ref>

ปัจจุบัน สุชัชวีร์ดำรงตำแหน่งนายกสมาคมนักเรียนทุนรัฐบาลไทย<ref>{{Cite web|last=|date=2020-12-12|title=ทุนรัฐบาลดีเด่น+ดาวรุ่ง 8 ราย 8 สาขา ขับเคลื่อนประเทศ|url=https://www.prachachat.net/csr-hr/news-570733|url-status=live|website=ประชาชาติธุรกิจ|language=th}}</ref> และดำรงประธานมูลนิธิโรงพยาบาลพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ในพระสังฆราชูปถัมภ์ <ref>{{Cite web|last=|date=2022-10-19|title=รพ.พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารชูเทคโนโลยีการแพทย์ พร้อมให้บริการปี 67|url=https://www.bangkokbiznews.com/biz2u/biz2u_PR/1023441|url-status=live|website=กรุงเทพธุรกิจ|language=th}}</ref>
==บทบาททางการเมือง==
สุชัชวีร์มีกระแสข่าวมาหลายปีแล้วว่าเตรียมลงสมัครรับเลือกตั้งในตำแหน่งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร โดยมีการนำเสนอนโยบายและแนวคิด มาโดยตลอด ในช่วงปลายปี 2564 ก็มีข่าวว่าเขาพยายามมองหาพรรคการเมืองสังกัด จนวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2564 ที่ประชุมคณะกรรมการบริหาร[[พรรคประชาธิปัตย์]]มีมติเป็นเอกฉันท์เห็นชอบให้สุชัชวีร์เป็นสมาชิกพรรค และเป็นผู้สมัครรับเลือกตั้ง [[ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร]]ในสังกัดของพรรค โดยสุชัชวีร์ได้ยื่นใบลาออกจากตำแหน่งอธิการบดี [[สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง]] มีผลในวันเดียวกัน<ref name=":1">{{Cite news|date=10 Dec 2021|title=“พี่เอ้” สุชัชวีร์ ชายผู้ประกาศตัว “ไม่กลัวทัวร์” ก่อนเปิดตัวลงผู้ว่าฯ กทม.|language=th|work=BBC News ไทย|url=https://www.bbc.com/thai/thailand-59604588|url-status=live|access-date=2022-06-15}}</ref>
===การลงสมัครรับเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร===
วันที่ 15 ธันวาคม 2564 สุชัชวีร์ได้ประกาศตัวเป็นผู้สมัครรับเลือกตั้งได้ลงสมัคร[[การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2565|เลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร]]ในนาม[[พรรคประชาธิปัตย์]] ในวันที่ 22 พฤษภาคม 2565 ได้มีการลงคะแนน[[การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2565|เลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร]] ซึ่งเขาไม่ได้รับเลือกตั้ง<ref>{{Cite web|last=|date=2022-05-22|title=“สุชัชวีร์” แถลงรับแพ้เลือกตั้ง ยินดี “ชัชชาติ” เป็นผู้ว่าฯ กทม. คนใหม่|url=https://www.thairath.co.th/news/politic/2399417|url-status=live|website=[[ไทยรัฐ]]|language=th}}</ref> โดยเขาได้รับคะแนนเสียง 254,723 คะแนน (9.60%) เป็นอันดับสอง รองจาก[[ชัชชาติ สิทธิพันธ์]]ซึ่งเป็นผู้ได้รับเลือกเป็น[[ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร]]<ref>{{cite web|url=https://www.youtube.com/watch?v=s6k3j5BvISc&t=232s
|title=(คลิปเต็ม) เจาะผลเลือกตั้ง ผู้ว่าฯ กทม.-ส.ก|language=thai|date=2022-05-23|accessdate=2022-06-01|work=YouTube|author=MCOT HD}}</ref>

== ผู้สมัครรับเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ==
ในเดือนกันยายน ปี พ.ศ. 2565 สุชัชวีร์ได้รับการเสนอชื่อเป็น ผู้สมัครรับเลือกตั้งแบบ[[ระบบสัดส่วนแบบบัญชีรายชื่อ|บัญชีรายชื่อ]] ของ[[พรรคประชาธิปัตย์]] โดยเขาได้รับมอบหมายให้เป็นหัวหน้าทีมนโยบายการศึกษาทันสมัยของพรรค<ref>{{cite news |title=Suchatvee in city education drive |url= https://www.bangkokpost.com/thailand/politics/2383698/suchatvee-in-city-education-drive |author= Aekarach Sattaburuth |website= [[Bangkok Post]] |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221111041344/https://www.bangkokpost.com/thailand/politics/2383698/suchatvee-in-city-education-drive |archive-date=2022-11-11 |date=2022-09-04|access-date=2022-11-11 |language=en }}</ref> ต่อมาในเดือนตุลาคม [[จุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์]] หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ได้ลงนามแต่งตั้งเขาให้เป็นประธานคณะทำงานด้านนโยบายของพรรคในเขตพื้นที่[[กรุงเทพมหานครและปริมณฑล]] พร้อมกับ[[วทันยา บุนนาค]]ซึ่งได้รับการมอบหมายให้เป็นประธานคณะทำงานนวัตกรรมการเมืองกรุงเทพฯ <ref>{{cite news |title=Democrats set sights on city |url= https://www.bangkokpost.com/thailand/politics/2411645/democrats-set-sights-on-city |website= [[บางกอกโพสต์]] |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221111041344/https://www.bangkokpost.com/thailand/politics/2383698/suchatvee-in-city-education-drive |archive-date=2022-11-11 |date=2022-10-11 |access-date=2022-11-11 |language=en }}</ref> เพื่อเตรียมพร้อมสำหรับ[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป ครั้งถัดไป]]

== ข้อวิจารณ์ ==


=== กรณีคลิปวิดีโอ คณิตสร้างชาติ ===
=== กรณีคลิปวิดีโอ คณิตสร้างชาติ ===
เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2561 ได้มีกระแสวิพากษ์วิจารณ์สุชัชวีร์จากคลิปวิดีโอ "คณิตสร้างชาติ" ที่มีการนำเสนอแนวคิดว่า การเรียนคณิตศาสตร์มีความสำคัญกว่าการเรียนภาษาต่างๆ<ref>{{Citation|title=เอ้ สุชัชวีร์ - คณิตฯสร้างชาติ {{!}} Facebook|url=https://www.facebook.com/suchatvee.ae/videos/%E0%B8%84%E0%B8%93%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%AF%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%B4/251487658890699/|language=th|access-date=2021-12-24}}</ref> โดยสุชัชวีร์ได้ยกตัวอย่างว่า ประเทศที่มีประชากรพูดได้หลายภาษามีความยากจน แต่ประเทศที่ร่ำรวยและพัฒนาแล้วล้วนเก่งคณิตศาสตร์ ทำให้มีกระแสวิพากษ์วิจารณ์ว่า การเรียนภาษาย่อมสำคัญเท่ากับวิชาคณิตศาสตร์ หรือควรส่งเสริมการเรียนคณิตศาสตร์โดยไม่ลดทอนการเรียนด้านภาษา<ref>{{Cite web|date=2018-10-11|title=หัวใจของการพัฒนาประเทศ ไม่ใช่ภาษา? ประธาน ทปอ. – อธิการบดี สจล. ถูกวิจารณ์กรณีคลิป ‘คณิตฯสร้างชาติ’|url=https://thematter.co/brief/news-1539252000/62220|url-status=live|website=The MATTER|language=th}}</ref>
เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2561 ได้มีกระแสวิพากษ์วิจารณ์สุชัชวีร์จากคลิปวิดีโอ "คณิตสร้างชาติ" ที่มีการนำเสนอแนวคิดว่า การเรียนคณิตศาสตร์มีความสำคัญกว่าการเรียนภาษาต่างๆ<ref>{{Citation|title=เอ้ สุชัชวีร์ - คณิตฯสร้างชาติ {{!}} Facebook|url=https://www.facebook.com/suchatvee.ae/videos/%E0%B8%84%E0%B8%93%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%AF%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%B4/251487658890699/|language=th|access-date=2021-12-24}}</ref> โดยสุชัชวีร์ได้ยกตัวอย่างว่า ประเทศที่มีประชากรพูดได้หลายภาษามีความยากจน แต่ประเทศที่ร่ำรวยและพัฒนาแล้วล้วนเก่งคณิตศาสตร์ ทำให้มีกระแสวิพากษ์วิจารณ์ว่า การเรียนภาษาย่อมสำคัญเท่ากับวิชาคณิตศาสตร์ หรือควรส่งเสริมการเรียนคณิตศาสตร์โดยไม่ลดทอนการเรียนด้านภาษา<ref>{{Cite web|date=2018-10-11|title=หัวใจของการพัฒนาประเทศ ไม่ใช่ภาษา? ประธาน ทปอ. – อธิการบดี สจล. ถูกวิจารณ์กรณีคลิป ‘คณิตฯสร้างชาติ’|url=https://thematter.co/brief/news-1539252000/62220|url-status=live|website=The MATTER|language=th}}</ref>

=== ปัญหาในการบริหารจัดการระบบ TCAS ===
=== ปัญหาในการบริหารจัดการระบบ TCAS ===
ในปี พ.ศ. 2561 ขณะดำรงตำแหน่งประธานที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.) สุชัชวีร์ได้ประกาศเปลี่ยนระบบ[[การรับบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย|การสอบคัดเลือกบุคคลเพื่อเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา]]จากเดิมที่ใช้ระบบ Admission เป็นระบบ TCAS โดยการเปลี่ยนระบบดังกล่าวมีจุดมุ่งหมายเพื่อลดการวิ่งรอกสอบ ลดความเหลื่อมล้ำและช่วยให้นักเรียนอยู่ในห้องจนจบการศึกษา<ref>{{Cite web|date=2017-06-01|title=เปลี่ยนชื่อระบบรับนศ.'แอดมิชชั่น'เป็น'TCAS'|url=https://www.dailynews.co.th/education/577321|website=dailynews|language=th}}</ref> แต่ในปีแรกที่เริ่มใช้ระบบนั้นมีปัญหาเกิดขึ้นเป็นจำนวนมาก ทั้งปัญหาระบบล่ม<ref>{{Cite web|date=2018-05-09|title=วันแรกก็ล่มแล้ว!! สมัครเข้ามหา'ลัย ระบบ TCAS รอบ 3 นร.บ่นอนาคตเนี่ยจะล่ม|url=https://mgronline.com/qol/detail/9610000045691|website=mgronline.com|language=th}}</ref> ความสับสนของนักเรียนและผู้ปกครองในการใช้ระบบ รวมไปถึงปัญหาด้านที่นั่ง ซึ่งเกิดจากการที่ผู้เข้าสอบคะแนนสูงสามารถเลือกคณะที่ต้องการเข้าศึกษาได้ และยังสามารถสำรองที่นั่งให้ตัวเองได้ ทำให้จำนวนที่นั่งที่มหาวิทยาลัยเปิดรับนั้นเต็มอย่างรวดเร็ว และมีนักเรียนเดือดร้อนเป็นจำนวนมาก เพราะไม่สามารถเลือกคณะที่ต้องการได้<ref>{{Cite web|last=|date=2018-05-30|title=ปัญหา 'กั๊กที่นั่ง' ที่ระบบบังคับ- เมื่อ "TCAS" ระบบสอบเข้ามหาวิทยาลัย ทำเด็ก 'ปวดหัว'|url=https://www.khaosod.co.th/special-stories/news_1147915|url-status=live|website=ข่าวสด|language=th}}</ref> การเปลี่ยนระบบนี้สร้างความไม่พอใจในหมู่ผู้ปกครอง นักเรียน และบุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้อง เพราะเกิดขึ้นอย่างกระชั้นชิด โดยมีเวลาทำความเข้าใจและปรับตัวเพียง 4 เดือน อีกทั้งเวลาในการเตรียมตัวสอบหลังจากเปลี่ยนระบบใหม่มีเพียงแค่ 1 เดือน นอกจากนี้ ค่าสมัครสอบก็ไม่ได้ลดลงแต่อย่างใด และระบบ TCAS ยังถูกวิจารณ์ว่า ขาดการมีส่วนรวมของนักเรียนในการออกแบบระบบตั้งแต่ต้น<ref>{{Cite web|date=2018-06-13|title=ชำแหละจุดอ่อน TCAS ภาระหนักอึ้งของ #Dek61 สะท้อนปัญหาใหญ่ระบบการศึกษาไทย|url=https://thestandard.co/admission-system-tcas-dek61/|website=THE STANDARD|language=th}}</ref><ref>{{Cite web|date=2018-06-13|title=กลับตัวก็ไม่ได้ จะเดินต่อไปยังไงให้ถึง? เข้าใจ TCAS และตามหาทางออกของระบบสอบเข้ามหาวิทยาลัยเจ้าปัญหา|url=https://adaymagazine.com/report-tcas-dek61/|website=a day magazine|language=th}}</ref><ref>{{Cite web|date=2018-05-31|title=TCAS 61 ลงทุนเพื่ออนาคตไป ฉันได้อะไรมา|url=https://waymagazine.org/classroom34/|url-status=live|website=waymagazine.org|language=th}}</ref><ref>{{Cite web|last=|first=|date=1 Jun 2018|title=บทเรียนเจ็บปวด TCAS : ผู้ใหญ่คิด แต่เด็กรับกรรม|url=https://www.voicetv.co.th/read/H1rhpVCym|url-status=live|website=VoiceTV|language=th}}</ref>
ในปี พ.ศ. 2561 ขณะดำรงตำแหน่งประธานที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.) สุชัชวีร์ได้ประกาศเปลี่ยนระบบ[[การรับบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย|การสอบคัดเลือกบุคคลเพื่อเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา]]จากเดิมที่ใช้ระบบ Admission เป็นระบบ TCAS โดยการเปลี่ยนระบบดังกล่าวมีจุดมุ่งหมายเพื่อลดการวิ่งรอกสอบ ลดความเหลื่อมล้ำและช่วยให้นักเรียนอยู่ในห้องจนจบการศึกษา<ref>{{Cite web|date=2017-06-01|title=เปลี่ยนชื่อระบบรับนศ.'แอดมิชชั่น'เป็น'TCAS'|url=https://www.dailynews.co.th/education/577321|website=dailynews|language=th}}</ref> แต่ในปีแรกที่เริ่มใช้ระบบนั้นมีปัญหาเกิดขึ้นเป็นจำนวนมาก ทั้งปัญหาระบบล่ม<ref>{{Cite web|date=2018-05-09|title=วันแรกก็ล่มแล้ว!! สมัครเข้ามหา'ลัย ระบบ TCAS รอบ 3 นร.บ่นอนาคตเนี่ยจะล่ม|url=https://mgronline.com/qol/detail/9610000045691|website=mgronline.com|language=th}}</ref> ความสับสนของนักเรียนและผู้ปกครองในการใช้ระบบ รวมไปถึงปัญหาด้านที่นั่ง ซึ่งเกิดจากการที่ผู้เข้าสอบคะแนนสูงสามารถเลือกคณะที่ต้องการเข้าศึกษาได้ และยังสามารถสำรองที่นั่งให้ตัวเองได้ ทำให้จำนวนที่นั่งที่มหาวิทยาลัยเปิดรับนั้นเต็มอย่างรวดเร็ว และมีนักเรียนเดือดร้อนเป็นจำนวนมาก เพราะไม่สามารถเลือกคณะที่ต้องการได้<ref>{{Cite web|last=|date=2018-05-30|title=ปัญหา 'กั๊กที่นั่ง' ที่ระบบบังคับ- เมื่อ "TCAS" ระบบสอบเข้ามหาวิทยาลัย ทำเด็ก 'ปวดหัว'|url=https://www.khaosod.co.th/special-stories/news_1147915|url-status=live|website=ข่าวสด|language=th}}</ref> การเปลี่ยนระบบนี้สร้างความไม่พอใจในหมู่ผู้ปกครอง นักเรียน และบุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้อง เพราะเกิดขึ้นอย่างกระชั้นชิด โดยมีเวลาทำความเข้าใจและปรับตัวเพียง 4 เดือน อีกทั้งเวลาในการเตรียมตัวสอบหลังจากเปลี่ยนระบบใหม่มีเพียงแค่ 1 เดือน นอกจากนี้ ค่าสมัครสอบก็ไม่ได้ลดลงแต่อย่างใด และระบบ TCAS ยังถูกวิจารณ์ว่า ขาดการมีส่วนรวมของนักเรียนในการออกแบบระบบตั้งแต่ต้น<ref>{{Cite web|date=2018-06-13|title=ชำแหละจุดอ่อน TCAS ภาระหนักอึ้งของ #Dek61 สะท้อนปัญหาใหญ่ระบบการศึกษาไทย|url=https://thestandard.co/admission-system-tcas-dek61/|website=THE STANDARD|language=th}}</ref><ref>{{Cite web|date=2018-06-13|title=กลับตัวก็ไม่ได้ จะเดินต่อไปยังไงให้ถึง? เข้าใจ TCAS และตามหาทางออกของระบบสอบเข้ามหาวิทยาลัยเจ้าปัญหา|url=https://adaymagazine.com/report-tcas-dek61/|website=a day magazine|language=th}}</ref><ref>{{Cite web|date=2018-05-31|title=TCAS 61 ลงทุนเพื่ออนาคตไป ฉันได้อะไรมา|url=https://waymagazine.org/classroom34/|url-status=live|website=waymagazine.org|language=th}}</ref><ref>{{Cite web|last=|first=|date=1 Jun 2018|title=บทเรียนเจ็บปวด TCAS : ผู้ใหญ่คิด แต่เด็กรับกรรม|url=https://www.voicetv.co.th/read/H1rhpVCym|url-status=live|website=VoiceTV|language=th}}</ref>
=== การเป็นที่ปรึกษาโครงการริมฝั่งเจ้าพระยา ===
=== การเป็นที่ปรึกษาโครงการริมฝั่งเจ้าพระยา ===
เขามีชื่อเป็นที่ปรึกษาโครงการพัฒนาริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ซึ่งมีงบประมาณถึงหลักหมื่นล้านบาท ทำให้มีศิษย์เก่าของสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบังยื่นจดหมายให้เขาถอนตัว<ref>{{cite news |title=ปม"สจล."ที่ปรึกษาโครงการริมฝั่งเจ้าพระยา "177ศิษย์เก่าสถาปัตย์"&"ผู้บริหาร" ใครเข้าใจผิด?? |url=https://mgronline.com/daily/detail/9590000041205 |accessdate=25 December 2021 |work=ผู้จัดการ |date=23 April 2016 |language=th}}</ref>
เขามีชื่อเป็นที่ปรึกษาโครงการพัฒนาริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ซึ่งมีงบประมาณถึงหลักหมื่นล้านบาท ทำให้มีศิษย์เก่าของสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบังยื่นจดหมายให้เขาถอนตัว<ref>{{cite news |title=ปม"สจล."ที่ปรึกษาโครงการริมฝั่งเจ้าพระยา "177ศิษย์เก่าสถาปัตย์"&"ผู้บริหาร" ใครเข้าใจผิด?? |url=https://mgronline.com/daily/detail/9590000041205 |accessdate=25 December 2021 |work=ผู้จัดการ |date=23 April 2016 |language=th}}</ref>
=== ระหว่างหาเสียงเลือกตั้ง ===
วันที่ 15 ธันวาคม 2564 ระหว่างการแถลงนโยบาย สุชัชวีร์ ได้กล่าวว่าตนเคยเรียนกับศาสตราจารย์เฮอร์เบิร์ต ไอน์สไตน์ อาจารย์ประจำภาควิชา[[วิศวกรรมโยธา]] [[สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์]]มาก่อน และได้กล่าวอีกว่า ศาสตราจารย์เฮอร์เบิร์ต เป็นหลานแท้ๆ ของ[[อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์]]<ref name=":0">{{Cite web|last=|date=2021-12-14|title=โป๊ะแล้ว! ‘เออร์เบิร์ต ไอน์สไตน์’ ยันไม่เกี่ยวข้อง ‘อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์’ หลัง ‘สุชัชวีร์’ อ้าง|url=https://www.khaosod.co.th/politics/news_6782685|url-status=live|website=ข่าวสด|language=th}}</ref> ต่อมาได้มีการสอบถามไปทางศาสตราจารย์เฮอร์เบิร์ตผ่านทางอีเมล ได้รับคำตอบว่าตัวเขาไม่ได้เป็นหลานของอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ และไม่ได้มีความเกี่ยวข้องใดๆทางสายเลือด และอวยพรให้ สุชัชวีร์ โชคดีในการลงชิงตำแหน่ง[[ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร]]<ref>{{Cite web|last=|date=2021-12-15|title=สู่ขิต!! เปิดอีเมล์ ศ.เฮอร์เบิร์ต ไอน์สไตน์ อาจารย์พี่เอ้ ปัดไม่ได้เป็นญาติ อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์|url=https://www.matichon.co.th/politics/news_3087636|url-status=live|website=มติชนออนไลน์|language=th}}</ref> หลังจากนั้นสุชัชวีร์ได้มีการชี้แจงว่า ที่ตนเชื่อว่าศาสตราจารย์เฮอร์เบิร์ตเป็นหลานของอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์นั้น เพราะได้ยินคำบอกเล่ามาจากรุ่นพี่ที่เรียนในสถาบันเดียวกัน และเชื่อโดยบริสุทธิ์ใจมาโดยตลอด<ref>{{Cite web|date=15 Dec 2021|title="ดร.เอ้ สุชัชวีร์" ยันเชื่อ Herbert Einstein เป็นหลานไอน์สไตน์ เพราะรุ่นพี่บอก|url=https://www.sanook.com/news/8489254/|url-status=live|website=www.sanook.com/news|language=th}}</ref> นอกจากนี้ยังมีศิษย์[[สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์]] ที่เคยเรียนกับ เฮอเบิร์ต ไอน์สไตน์ ก็ยืนยันตรงกันกับสุชัชวีร์ <ref>{{Cite web|last=|date=15 Dec 2021|title="ดร.เอ้ สุชัชวีร์" แจงแล้ว เชื่อโดยบริสุทธิ์ใจ เรียนกับหลาน "อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์"|url=https://www.pptvhd36.com/news/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87/162529|url-status=live|website=pptvhd36.com|language=th}}</ref>


=== กรณีอื้อฉาวระหว่างหาเสียงเลือกตั้ง ===
เมื่อวันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2564 สุชัชวีร์กล่าวถึงการแก้ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งกรุงเทพมหานครผ่าน[[เฟซบุ๊ก]] โดยเสนอให้วางเตตระพอด (Tetrapod) เรียงตัวเป็นเขื่อนแทนการใช้กระบอกไม้ไผ่<ref>{{Cite web|date=2021-12-30|title=สุชัชวีร์ปิ๊งไอเดีย ใช้เตตระพอดป้องกันกัดเซาะ เจอเสียงค้านชี้ไม่ได้เอาไปวางที่หาด|url=https://mgronline.com/onlinesection/detail/9640000129217|website=mgronline.com|language=th}}</ref> แต่มีเพจเฟซบุ๊กเข้ามาแสดงความคิดเห็นคัดค้าน โดยระบุว่าสุชัชวีร์ไม่เข้าใจความแตกต่างระหว่างหาดกับชายฝั่ง และการกระทำเช่นนี้จะส่งผลกระทบทางลบต่อสัตว์น้ำ นอกจากนี้ พจดังกล่าวยังระบุว่าเพจของสุชัชวีร์มีการปิดกั้นไม่ให้ผู้ที่มีความเห็นต่างได้แสดงความคิดเห็นด้วย<ref>{{Cite web|last=|date=2021-12-30|title=โป๊ะอีกไหม? เพจดัง ยกข้อมูลโต้ 'สุชัชวีร์' ปมปัญหากัดเซาะชายฝั่ง กทม. แนะแยก 'หาด-ฝั่ง' ให้ออก|url=https://www.khaosod.co.th/special-stories/news_6808398|url-status=live|website=ข่าวสด|language=th}}</ref><ref>{{Cite web|last=|date=2021-12-30|title=สุชัชวีร์ แจง หลังเพจดังเผยถูกทีมงานบล็อก ท้วงปมใช้ เตตระพอด กันคลื่น สู้น้ำทะเลหนุน|url=https://www.matichon.co.th/politics/news_3110071|url-status=live|website=มติชนออนไลน์|language=th}}</ref>
สุชัชวีร์ได้เปิดตัวเป็นผู้สมัครรับเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครในนาม[[พรรคประชาธิปัตย์]] ในวันที่ 15 ธันวาคม 2564 โดยระหว่างการแถลงนโยบาย สุชัชวีร์ กล่าวว่าตนเคยเรียนกับศาสตราจารย์เฮอร์เบิร์ต ไอน์สไตน์ อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมโยธา [[สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์]] มาก่อน และได้กล่าวอีกว่า ศาสตราจารย์เฮอร์เบิร์ต เป็นหลานแท้ๆ ของ[[อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์]]<ref name=":0">{{Cite web|last=|date=2021-12-14|title=โป๊ะแล้ว! ‘เออร์เบิร์ต ไอน์สไตน์’ ยันไม่เกี่ยวข้อง ‘อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์’ หลัง ‘สุชัชวีร์’ อ้าง|url=https://www.khaosod.co.th/politics/news_6782685|url-status=live|website=ข่าวสด|language=th}}</ref> ต่อมาได้มีการสอบถามไปทางศาสตราจารย์เฮอร์เบิร์ตผ่านทาง[[อีเมล]] และได้รับคำตอบว่าเขาไม่ได้มีความเกี่ยวข้องกับอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์แต่อย่างใด<ref>{{Cite web|last=|date=2021-12-15|title=สู่ขิต!! เปิดอีเมล์ ศ.เฮอร์เบิร์ต ไอน์สไตน์ อาจารย์พี่เอ้ ปัดไม่ได้เป็นญาติ อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์|url=https://www.matichon.co.th/politics/news_3087636|url-status=live|website=มติชนออนไลน์|language=th}}</ref> หลังจากนั้นสุชัชวีร์ได้ชี้แจงว่า ที่ตนเชื่อว่าศาสตราจารย์เฮอร์เบิร์ตเป็นหลานของอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์นั้น เพราะได้ยินคำบอกเล่ามาจากรุ่นพี่ที่เรียนในสถาบันเดียวกันและเชื่อโดยบริสุทธิ์ใจมาโดยตลอด<ref>{{Cite web|date=15 Dec 2021|title="ดร.เอ้ สุชัชวีร์" ยันเชื่อ Herbert Einstein เป็นหลานไอน์สไตน์ เพราะรุ่นพี่บอก|url=https://www.sanook.com/news/8489254/|url-status=live|website=www.sanook.com/news|language=th}}</ref> นอกจากนี้ยังมีศิษย์เก่าเอ็มไอทีที่เคยเรียนกับ ดร.เฮอเบิร์ต ไอน์สไตน์ ก็ยืนยันตรงกัน<ref>{{Cite web|last=|date=15 Dec 2021|title="ดร.เอ้ สุชัชวีร์" แจงแล้ว เชื่อโดยบริสุทธิ์ใจ เรียนกับหลาน "อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์"|url=https://www.pptvhd36.com/news/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87/162529|url-status=live|website=pptvhd36.com|language=th}}</ref>

เมื่อวันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2564 สุชัชวีร์กล่าวถึงการแก้ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งกรุงเทพมหานครผ่าน[[เฟซบุ๊ก]] โดยเสนอให้วางเตตระพอด (Tetrapod) เรียงตัวเป็นเขื่อนแทนการใช้กระบอกไม้ไผ่<ref>{{Cite web|date=2021-12-30|title=สุชัชวีร์ปิ๊งไอเดีย ใช้เตตระพอดป้องกันกัดเซาะ เจอเสียงค้านชี้ไม่ได้เอาไปวางที่หาด|url=https://mgronline.com/onlinesection/detail/9640000129217|website=mgronline.com|language=th}}</ref> แต่มีเพจเฟซบุ๊กเข้ามาแสดงความคิดเห็นคัดค้าน โดยระบุว่าสุชัชวีร์ไม่เข้าใจความแตกต่างระหว่างหาดกับชายฝั่ง และการกระทำเช่นนี้จะส่งผลกระทบทางลบต่อสัตว์น้ำ นอกจากนี้ เพจดังกล่าวยังระบุว่าเพจของสุชัชวีร์มีการปิดกั้นไม่ให้ผู้ที่มีความเห็นต่างได้แสดงความคิดเห็นด้วย<ref>{{Cite web|last=|date=2021-12-30|title=โป๊ะอีกไหม? เพจดัง ยกข้อมูลโต้ 'สุชัชวีร์' ปมปัญหากัดเซาะชายฝั่ง กทม. แนะแยก 'หาด-ฝั่ง' ให้ออก|url=https://www.khaosod.co.th/special-stories/news_6808398|url-status=live|website=ข่าวสด|language=th}}</ref><ref>{{Cite web|last=|date=2021-12-30|title=สุชัชวีร์ แจง หลังเพจดังเผยถูกทีมงานบล็อก ท้วงปมใช้ เตตระพอด กันคลื่น สู้น้ำทะเลหนุน|url=https://www.matichon.co.th/politics/news_3110071|url-status=live|website=มติชนออนไลน์|language=th}}</ref>


== ชีวิตส่วนตัว ==
== ชีวิตส่วนตัว ==
บรรทัด 101: บรรทัด 58:
เขายังได้รับฉายา ''“The Disruptor เมืองไทย”'' ในฐานะเป็นผู้พลิกฟื้น สจล. ระหว่างที่ดำรงตำแหน่งอธิการบดี สู่องค์กรระดับนานาชาติ ปรับโครงสร้างการบริหารการศึกษาที่ไม่เอื้อต่อการพัฒนา ปัญหาการเสียดุลทางการแพทย์และเทคโนโลยี ฯลฯ สู่สถาบันอุดมศึกษาชั้นนำแห่งหนึ่งของไทย<ref>{{Cite web|date=2019-08-01|title=THe Disruptor' เมืองไทย สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์|url=https://www.bangkokbiznews.com/lifestyle/842402|website=bangkokbiznews|language=th}}</ref><ref>{{Cite web|date=2021-09-22|title=ถอดรหัสลับสู่ความสำเร็จในฐานะ The Disruptor แถวหน้าของเมืองไทย|url=https://www.thaipr.net/it/3101480|url-status=live|website=ThaiPR.NET|language=th}}</ref>
เขายังได้รับฉายา ''“The Disruptor เมืองไทย”'' ในฐานะเป็นผู้พลิกฟื้น สจล. ระหว่างที่ดำรงตำแหน่งอธิการบดี สู่องค์กรระดับนานาชาติ ปรับโครงสร้างการบริหารการศึกษาที่ไม่เอื้อต่อการพัฒนา ปัญหาการเสียดุลทางการแพทย์และเทคโนโลยี ฯลฯ สู่สถาบันอุดมศึกษาชั้นนำแห่งหนึ่งของไทย<ref>{{Cite web|date=2019-08-01|title=THe Disruptor' เมืองไทย สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์|url=https://www.bangkokbiznews.com/lifestyle/842402|website=bangkokbiznews|language=th}}</ref><ref>{{Cite web|date=2021-09-22|title=ถอดรหัสลับสู่ความสำเร็จในฐานะ The Disruptor แถวหน้าของเมืองไทย|url=https://www.thaipr.net/it/3101480|url-status=live|website=ThaiPR.NET|language=th}}</ref>


สุชัชวีร์เป็นคอลัมนิสต์ ''“มองอนาคตไทย”'' ของหนังสือพิมพ์[[โพสต์ทูเดย์]] <ref>{{Cite web|last=|date=2017-02-15|title=ข่าวสื่อมวลชน :มองอนาคตไทย |url=https://www.kmitl.io/th/category/2017-02-15-11-55-37?page=12|url-status=live|website=KMITL|archive-url= https://web.archive.org/web/20221123075147/https://www.kmitl.io/th/category/2017-02-15-11-55-37?page=12 |archive-date=2022-11-23 |access-date=2022-11-23|language=th}}</ref>และเป็นผู้เขียนหนังสือ
สุชัชวีร์เป็นคอลัมนิสต์ ''“มองอนาคตไทย”'' ของหนังสือพิมพ์[[โพสต์ทูเดย์]] <ref>{{Cite web|last=|date=2017-02-15|title=ข่าวสื่อมวลชน :มองอนาคตไทย |url=https://www.kmitl.io/th/category/2017-02-15-11-55-37?page=12|url-status=live|website=KMITL|archive-url= https://web.archive.org/web/20221123075147/https://www.kmitl.io/th/category/2017-02-15-11-55-37?page=12 |archive-date=2022-11-23 |access-date=2022-11-23|language=th}}</ref>


''“คิดต่างสร้างการเปลี่ยนแปลง”''<ref>[https://www.chulabook.com/en/product-details/108917-%E0%B8%84%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%87คิดต่างสร้างการเปลี่ยนแปลง Author : สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์]</ref>
สุชัชวีร์เป็นผู้เขียนหนังสือ ''“คิดต่างสร้างการเปลี่ยนแปลง”''<ref>[https://www.chulabook.com/en/product-details/108917-%E0%B8%84%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%87 คิดต่างสร้างการเปลี่ยนแปลงคิดต่างสร้างการเปลี่ยนแปลง ผู้เขียน: สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์]</ref> และ ''"A story of the impossible สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง"'' <ref>[https://opac.lib.kmitl.ac.th/catalog/BibItem.aspx?BibID=b00274950ง A story of the impossible สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ผู้เขียน: สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์]</ref>

''"A story of the impossible สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง"'' <ref>[https://opac.lib.kmitl.ac.th/catalog/BibItem.aspx?BibID=b00274950ง Author : สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์]</ref>
== รางวัลและเกียรติคุณ ==
== รางวัลและเกียรติคุณ ==
* “นักบริหารดีเด่นแห่งปี ประจำปี 2555 ” สาขาบริหารและพัฒนาการศึกษา <ref>{{Cite news|last=|date=2012-09-28|title=รศ.ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ รับรางวัล “นักบริหารดีเด่นแห่งปี 2555|url=https://www.press.in.th/%E0%B8%A3%E0%B8%A8-%E0%B8%94%E0%B8%A3-%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%8A%E0%B8%B1%E0%B8%8A%E0%B8%A7%E0%B8%B5%E0%B8%A3%E0%B9%8C-%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B8%AA%E0%B8%A7/|url-status=live|website=PRESS RELEASE |archive-url= https://web.archive.org/web/20221123082534/https://www.press.in.th/%E0%B8%A3%E0%B8%A8-%E0%B8%94%E0%B8%A3-%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%8A%E0%B8%B1%E0%B8%8A%E0%B8%A7%E0%B8%B5%E0%B8%A3%E0%B9%8C-%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B8%AA%E0%B8%A7/|archive-date=2022-11-23 |access-date=2022-11-23|language=th}}</ref>
* “นักบริหารดีเด่นแห่งปี ประจำปี 2555 ” สาขาบริหารและพัฒนาการศึกษา <ref>{{Cite news|last=|date=2012-09-28|title=รศ.ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ รับรางวัล “นักบริหารดีเด่นแห่งปี 2555|url=https://www.press.in.th/%E0%B8%A3%E0%B8%A8-%E0%B8%94%E0%B8%A3-%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%8A%E0%B8%B1%E0%B8%8A%E0%B8%A7%E0%B8%B5%E0%B8%A3%E0%B9%8C-%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B8%AA%E0%B8%A7/|url-status=live|website=PRESS RELEASE |archive-url= https://web.archive.org/web/20221123082534/https://www.press.in.th/%E0%B8%A3%E0%B8%A8-%E0%B8%94%E0%B8%A3-%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%8A%E0%B8%B1%E0%B8%8A%E0%B8%A7%E0%B8%B5%E0%B8%A3%E0%B9%8C-%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B8%AA%E0%B8%A7/|archive-date=2022-11-23 |access-date=2022-11-23|language=th}}</ref>
บรรทัด 112: บรรทัด 67:
* Distinguished Honorary Award สถาบันเทคโนโลยีแห่งชาติ โทยามะ [[ประเทศญี่ปุ่น]]<ref>{{Cite news|author=kejjy|date=2015-12-17|title=NIT Toyama College – KMITL President’s Distinguished Honorary Award|url=https://oia.kmitl.ac.th/blog/nit-toyama-college-%E2%80%93-kmitl-president%E2%80%99s-distinguished-honorary-award|url-status=live|website=Office of International Affairs :KMITL|archive-url=https://web.archive.org/web/20221123085054/https://oia.kmitl.ac.th/blog/nit-toyama-college-%E2%80%93-kmitl-president%E2%80%99s-distinguished-honorary-award|archive-date=2022-11-23 |access-date=2022-11-23|language=en}}</ref>
* Distinguished Honorary Award สถาบันเทคโนโลยีแห่งชาติ โทยามะ [[ประเทศญี่ปุ่น]]<ref>{{Cite news|author=kejjy|date=2015-12-17|title=NIT Toyama College – KMITL President’s Distinguished Honorary Award|url=https://oia.kmitl.ac.th/blog/nit-toyama-college-%E2%80%93-kmitl-president%E2%80%99s-distinguished-honorary-award|url-status=live|website=Office of International Affairs :KMITL|archive-url=https://web.archive.org/web/20221123085054/https://oia.kmitl.ac.th/blog/nit-toyama-college-%E2%80%93-kmitl-president%E2%80%99s-distinguished-honorary-award|archive-date=2022-11-23 |access-date=2022-11-23|language=en}}</ref>
* Honorary Doctorate Awarded จาก [[มหาวิทยาลัยโตไก]][[ประเทศญี่ปุ่น]] ในปี 2560<ref>{{Cite news|author=superdia|date=2017-11-01|title=Honorary Doctorate awarded to Prof. Dr. Suchatvee Suwansawat|url=https://oia.kmitl.ac.th/blog/honorary-doctorate-awarded-prof-dr-suchatvee-suwansawat|url-status=live|website=Office of International Affairs :KMITL|archive-url=https://web.archive.org/web/20221123084232/https://oia.kmitl.ac.th/blog/honorary-doctorate-awarded-prof-dr-suchatvee-suwansawat|archive-date=2022-11-23 |access-date=2022-11-23|language=en}}</ref>
* Honorary Doctorate Awarded จาก [[มหาวิทยาลัยโตไก]][[ประเทศญี่ปุ่น]] ในปี 2560<ref>{{Cite news|author=superdia|date=2017-11-01|title=Honorary Doctorate awarded to Prof. Dr. Suchatvee Suwansawat|url=https://oia.kmitl.ac.th/blog/honorary-doctorate-awarded-prof-dr-suchatvee-suwansawat|url-status=live|website=Office of International Affairs :KMITL|archive-url=https://web.archive.org/web/20221123084232/https://oia.kmitl.ac.th/blog/honorary-doctorate-awarded-prof-dr-suchatvee-suwansawat|archive-date=2022-11-23 |access-date=2022-11-23|language=en}}</ref>
* รางวัล “อินทรจักร” สาขาบุคคลที่น่ายกย่องแห่งปี 2561 จากสถาบันพัฒนาผู้ประกอบการวัยรุ่นไทยและวัยทำงาน ในฐานะบุคคลตัวอย่าง ที่มีความโดดเด่นในการงานอันเป็นประโยชน์แก่สังคม ประเทศชาติ และเป็นแรงบันดาลใจแก่สาธารณชน <ref>{{Cite news|author=|date=2018-04-06|title=ศ.ดร.สุชัชวีร์ อธิการบดี สจล. ได้รับรางวัล บุคคลที่น่ายกย่องแห่งปี 2561 |url=https://kmitl.io/th/detail/2018-04-10-16-17-25|url-status=live|website=[[สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ]]|archive-url=|archive-date= |access-date=2022-11-23|language=th}}</ref>
* รางวัล “อินทรจักร” สาขาบุคคลที่น่ายกย่องแห่งปี 2561 จากสถาบันพัฒนาผู้ประกอบการวัยรุ่นไทยและวัยทำงาน ในฐานะบุคคลตัวอย่าง ที่มีความโดดเด่นในการงานอันเป็นประโยชน์แก่สังคม ประเทศชาติ และเป็นแรงบันดาลใจแก่สาธารณชน <ref>{{Cite news|author=|date=2018-04-06|title=ศ.ดร.สุชัชวีร์ อธิการบดี สจล. ได้รับรางวัล บุคคลที่น่ายกย่องแห่งปี 2561 |url=https://kmitl.io/th/detail/2018-04-10-16-17-25|url-status=live|website=[[สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง]]|archive-url=|archive-date= |access-date=2022-11-23|language=th}}</ref>
* Fukuoka Institute of Technology Chairman’s Medal Ceremony 2565 <ref>{{Cite news|author=|date=2014-12-30|title=ศ.ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ นายก วสท. รับรางวัลนักเรียนทุนรัฐบาลไทยดีเด่น ประจำปี 2557|url=https://www.thairath.co.th/news/politic/2348375|url-status=live|website=[[ไทยรัฐ ]]|archive-url= https://web.archive.org/web/20221123081719/https://www.thairath.co.th/news/politic/2348375|archive-date=2022-11-23 |access-date=2022-11-23|language=th}}</ref>
* Fukuoka Institute of Technology Chairman’s Medal Ceremony 2565 <ref>{{Cite news|author=|date=2014-12-30|title=ศ.ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ นายก วสท. รับรางวัลนักเรียนทุนรัฐบาลไทยดีเด่น ประจำปี 2557|url=https://www.thairath.co.th/news/politic/2348375|url-status=live|website=[[ไทยรัฐ ]]|archive-url= https://web.archive.org/web/20221123081719/https://www.thairath.co.th/news/politic/2348375|archive-date=2022-11-23 |access-date=2022-11-23|language=th}}</ref>
* ศิษย์เก่าเกียรติยศ 62ปี พระจอมเกล้าลาดกระบัง (The World Master of Innovation) ปี 2565<ref>{{Cite news|author=|date=2014-12-30|title="สุชัชวีร์" ติด1ใน12 ผู้รับรางวัลศิษย์เก่าเกียรติยศ สจล.ครบรอบ62ปี |url=https://www.komchadluek.net/news/education/527504|url-status=live|website=[[คมชัดลึก]]|archive-url= https://web.archive.org/web/20221123082314/https://www.komchadluek.net/news/education/527504|archive-date=2022-11-23 |access-date=2022-11-23|language=th}}</ref>
* ศิษย์เก่าเกียรติยศ 62 ปี [[สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง]] (The World Master of Innovation) ปี 2565<ref>{{Cite news|author=|date=2014-12-30|title="สุชัชวีร์" ติด1ใน12 ผู้รับรางวัลศิษย์เก่าเกียรติยศ สจล.ครบรอบ62ปี |url=https://www.komchadluek.net/news/education/527504|url-status=live|website=[[คมชัดลึก]]|archive-url= https://web.archive.org/web/20221123082314/https://www.komchadluek.net/news/education/527504|archive-date=2022-11-23 |access-date=2022-11-23|language=th}}</ref>

== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==
== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==
{{ป.ม.|2564}}<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [https://ratchakitcha2.soc.go.th/pdfdownload/?id=139B001S0000000000100 ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ประจำปี ๒๕๖๔], เล่ม ๑๓๙ ตอนพิเศษ ๑ ข หน้า ๖๖, ๑๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕</ref>
{{ป.ม.|2564}}<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [https://ratchakitcha2.soc.go.th/pdfdownload/?id=139B001S0000000000100 ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ประจำปี ๒๕๖๔], เล่ม ๑๓๙ ตอนพิเศษ ๑ ข หน้า ๖๖, ๑๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕</ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:40, 28 พฤศจิกายน 2565

สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์
สุชัชวีร์ใน พ.ศ. 2565
อธิการบดีสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ดำรงตำแหน่ง
2 ตุลาคม พ.ศ. 2558[1] – 12 ธันวาคม พ.ศ. 2564[2]
ก่อนหน้าศาสตราจารย์ โมไนย ไกรฤกษ์
(รักษาราชการแทน)
ถัดไปรองศาสตราจารย์ อนุวัฒน์ จางวนิชเลิศ
(รักษาราชการแทน)
นายกสภาวิศวกร
ดำรงตำแหน่ง
19 มีนาคม พ.ศ. 2562[3] – 8 ธันวาคม พ.ศ. 2564[4]
ก่อนหน้ากมล ตรรกบุตร[5]
ถัดไปรองศาสตราจารย์ ปิยะบุตร วานิชพงษ์พันธุ์[6]
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด20 เมษายน พ.ศ. 2515 (52 ปี)
อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี ประเทศไทย
พรรคการเมืองประชาธิปัตย์
คู่สมรสสวิตา สุวรรณสวัสดิ์
ศิษย์เก่า
อาชีพ
ลายมือชื่อ
เว็บไซต์

ศาสตราจารย์ สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ (ชื่อเล่น เอ้ เกิด 20 เมษายน พ.ศ. 2515) เป็นวิศวกร นักวิชาการ และนักการเมืองชาวไทย เคยดำรงตำแหน่งอธิการบดีสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลำดับที่ 6 โดยดำรงตำแหน่ง 2 สมัยระหว่างปี 2558 ถึง 2564 และยังเคยดำรงตำแหน่งนายกสภาวิศวกร นายกวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย และประธานที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย ก่อนเปิดตัวเข้าร่วมและลงสมัครรับเลือกตั้งในนามพรรคประชาธิปัตย์[7]

ประวัติและการศึกษา

สุชัชวีร์เกิดเมื่อวันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2515 เป็นบุตรชายของ นายธีรศักดิ์ และนางวัลลีย์ สุวรรณสวัสดิ์ ได้รับทุนโควตาช้างเผือกเข้าศึกษาระดับปริญญาตรีที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง จากนั้นได้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท M.Sc. ในสาขา Geotechnical Engineering จากมหาวิทยาลัยวิสคอนซิน แมดิสัน ปริญญาโท M.Sc. ในสาขา Technology and Policy และระดับปริญญาเอก Sc.D. ในสาขา Geotechnical Engineering จากสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ (MIT) ประเทศสหรัฐอเมริกา

การลงสมัครรับเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร

ตัวเขามีกระแสข่าวมาหลายปีแล้วว่าเตรียมลงสมัครรับเลือกตั้งในตำแหน่งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร โดยมีการนำเสนอตัวเองและนโยบายต่าง ๆ มาโดยตลอด และในช่วงปลายปี 2564 ก็มีข่าวว่าพยายามมองหาพรรคการเมืองสังกัด จนวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2564 ที่ประชุมคณะกรรมการบริหารพรรคประชาธิปัตย์มีมติเป็นเอกฉันท์เห็นชอบให้สุชัชวีร์เป็นผู้สมัครรับเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครในสังกัดของพรรค โดยสุชัชวีร์ได้ยื่นใบลาออกจากตำแหน่งอธิการบดี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง มีผลในวันเดียวกัน[8] หลังจากนั้นในปี พ.ศ. 2565 สุชัชวีร์ ได้ลงสมัครรับเลือกตั้งในการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ในสังกัดพรรคประชาธิปัตย์ แต่ไม่ได้รับเลือกตั้ง

ข้อวิพากษ์วิจารณ์

กรณีคลิปวิดีโอ คณิตสร้างชาติ

เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2561 ได้มีกระแสวิพากษ์วิจารณ์สุชัชวีร์จากคลิปวิดีโอ "คณิตสร้างชาติ" ที่มีการนำเสนอแนวคิดว่า การเรียนคณิตศาสตร์มีความสำคัญกว่าการเรียนภาษาต่างๆ[9] โดยสุชัชวีร์ได้ยกตัวอย่างว่า ประเทศที่มีประชากรพูดได้หลายภาษามีความยากจน แต่ประเทศที่ร่ำรวยและพัฒนาแล้วล้วนเก่งคณิตศาสตร์ ทำให้มีกระแสวิพากษ์วิจารณ์ว่า การเรียนภาษาย่อมสำคัญเท่ากับวิชาคณิตศาสตร์ หรือควรส่งเสริมการเรียนคณิตศาสตร์โดยไม่ลดทอนการเรียนด้านภาษา[10]

ปัญหาในการบริหารจัดการระบบ TCAS

ในปี พ.ศ. 2561 ขณะดำรงตำแหน่งประธานที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.) สุชัชวีร์ได้ประกาศเปลี่ยนระบบการสอบคัดเลือกบุคคลเพื่อเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาจากเดิมที่ใช้ระบบ Admission เป็นระบบ TCAS โดยการเปลี่ยนระบบดังกล่าวมีจุดมุ่งหมายเพื่อลดการวิ่งรอกสอบ ลดความเหลื่อมล้ำและช่วยให้นักเรียนอยู่ในห้องจนจบการศึกษา[11] แต่ในปีแรกที่เริ่มใช้ระบบนั้นมีปัญหาเกิดขึ้นเป็นจำนวนมาก ทั้งปัญหาระบบล่ม[12] ความสับสนของนักเรียนและผู้ปกครองในการใช้ระบบ รวมไปถึงปัญหาด้านที่นั่ง ซึ่งเกิดจากการที่ผู้เข้าสอบคะแนนสูงสามารถเลือกคณะที่ต้องการเข้าศึกษาได้ และยังสามารถสำรองที่นั่งให้ตัวเองได้ ทำให้จำนวนที่นั่งที่มหาวิทยาลัยเปิดรับนั้นเต็มอย่างรวดเร็ว และมีนักเรียนเดือดร้อนเป็นจำนวนมาก เพราะไม่สามารถเลือกคณะที่ต้องการได้[13] การเปลี่ยนระบบนี้สร้างความไม่พอใจในหมู่ผู้ปกครอง นักเรียน และบุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้อง เพราะเกิดขึ้นอย่างกระชั้นชิด โดยมีเวลาทำความเข้าใจและปรับตัวเพียง 4 เดือน อีกทั้งเวลาในการเตรียมตัวสอบหลังจากเปลี่ยนระบบใหม่มีเพียงแค่ 1 เดือน นอกจากนี้ ค่าสมัครสอบก็ไม่ได้ลดลงแต่อย่างใด และระบบ TCAS ยังถูกวิจารณ์ว่า ขาดการมีส่วนรวมของนักเรียนในการออกแบบระบบตั้งแต่ต้น[14][15][16][17]

การเป็นที่ปรึกษาโครงการริมฝั่งเจ้าพระยา

เขามีชื่อเป็นที่ปรึกษาโครงการพัฒนาริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ซึ่งมีงบประมาณถึงหลักหมื่นล้านบาท ทำให้มีศิษย์เก่าของสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบังยื่นจดหมายให้เขาถอนตัว[18]

กรณีอื้อฉาวระหว่างหาเสียงเลือกตั้ง

สุชัชวีร์ได้เปิดตัวเป็นผู้สมัครรับเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครในนามพรรคประชาธิปัตย์ ในวันที่ 15 ธันวาคม 2564 โดยระหว่างการแถลงนโยบาย สุชัชวีร์ กล่าวว่าตนเคยเรียนกับศาสตราจารย์เฮอร์เบิร์ต ไอน์สไตน์ อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมโยธา สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ มาก่อน และได้กล่าวอีกว่า ศาสตราจารย์เฮอร์เบิร์ต เป็นหลานแท้ๆ ของอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์[19] ต่อมาได้มีการสอบถามไปทางศาสตราจารย์เฮอร์เบิร์ตผ่านทางอีเมล และได้รับคำตอบว่าเขาไม่ได้มีความเกี่ยวข้องกับอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์แต่อย่างใด[20] หลังจากนั้นสุชัชวีร์ได้ชี้แจงว่า ที่ตนเชื่อว่าศาสตราจารย์เฮอร์เบิร์ตเป็นหลานของอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์นั้น เพราะได้ยินคำบอกเล่ามาจากรุ่นพี่ที่เรียนในสถาบันเดียวกันและเชื่อโดยบริสุทธิ์ใจมาโดยตลอด[21] นอกจากนี้ยังมีศิษย์เก่าเอ็มไอทีที่เคยเรียนกับ ดร.เฮอเบิร์ต ไอน์สไตน์ ก็ยืนยันตรงกัน[22]

เมื่อวันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2564 สุชัชวีร์กล่าวถึงการแก้ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งกรุงเทพมหานครผ่านเฟซบุ๊ก โดยเสนอให้วางเตตระพอด (Tetrapod) เรียงตัวเป็นเขื่อนแทนการใช้กระบอกไม้ไผ่[23] แต่มีเพจเฟซบุ๊กเข้ามาแสดงความคิดเห็นคัดค้าน โดยระบุว่าสุชัชวีร์ไม่เข้าใจความแตกต่างระหว่างหาดกับชายฝั่ง และการกระทำเช่นนี้จะส่งผลกระทบทางลบต่อสัตว์น้ำ นอกจากนี้ เพจดังกล่าวยังระบุว่าเพจของสุชัชวีร์มีการปิดกั้นไม่ให้ผู้ที่มีความเห็นต่างได้แสดงความคิดเห็นด้วย[24][25]

ชีวิตส่วนตัว

ปัจจุบัน สุชัชวีร์ สมรสกับ นางสวิตา สุวรรณสวัสดิ์ มีบุตรชายด้วยกัน 1 คน[26]

เขายังได้รับฉายา “The Disruptor เมืองไทย” ในฐานะเป็นผู้พลิกฟื้น สจล. ระหว่างที่ดำรงตำแหน่งอธิการบดี สู่องค์กรระดับนานาชาติ ปรับโครงสร้างการบริหารการศึกษาที่ไม่เอื้อต่อการพัฒนา ปัญหาการเสียดุลทางการแพทย์และเทคโนโลยี ฯลฯ สู่สถาบันอุดมศึกษาชั้นนำแห่งหนึ่งของไทย[27][28]

สุชัชวีร์เป็นคอลัมนิสต์ “มองอนาคตไทย” ของหนังสือพิมพ์โพสต์ทูเดย์ [29]

สุชัชวีร์เป็นผู้เขียนหนังสือ “คิดต่างสร้างการเปลี่ยนแปลง”[30] และ "A story of the impossible สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง" [31]

รางวัลและเกียรติคุณ

  • “นักบริหารดีเด่นแห่งปี ประจำปี 2555 ” สาขาบริหารและพัฒนาการศึกษา [32]
  • ประธานาธิบดี ดไวท์ ไอเซนฮาว เฟลโลว์ซิฟ ในปี 2556 (President Eisenhower Fellowship 2013) [33]
  • รางวัลนักเรียนทุนรัฐบาลไทยดีเด่น ประจำปี 2557 จาก สมาคมนักเรียนทุนรัฐบาลไทย [34]
  • Distinguished Honorary Award สถาบันเทคโนโลยีแห่งชาติ โทยามะ ประเทศญี่ปุ่น[35]
  • Honorary Doctorate Awarded จาก มหาวิทยาลัยโตไกประเทศญี่ปุ่น ในปี 2560[36]
  • รางวัล “อินทรจักร” สาขาบุคคลที่น่ายกย่องแห่งปี 2561 จากสถาบันพัฒนาผู้ประกอบการวัยรุ่นไทยและวัยทำงาน ในฐานะบุคคลตัวอย่าง ที่มีความโดดเด่นในการงานอันเป็นประโยชน์แก่สังคม ประเทศชาติ และเป็นแรงบันดาลใจแก่สาธารณชน [37]
  • Fukuoka Institute of Technology Chairman’s Medal Ceremony 2565 [38]
  • ศิษย์เก่าเกียรติยศ 62 ปี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (The World Master of Innovation) ปี 2565[39]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

อ้างอิง

  1. "ตอนพิเศษ 49 ง.". ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งอธิการบดีสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (Report) (เล่ม 137 ed.). ราชกิจจานุเบกษา. 2 March 2020. p. 8.
  2. ""พี่เอ้ ดร.สุชัชวีร์" ลาออกจากอธิการบดีสจล". pptvhd36.com. 9 Dec 2021.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  3. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งกรรมการในคณะกรรมการสภาวิศวกร [จำนวน ๕ ราย ๑. นายสุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ ฯลฯ], เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๙๕ ง หน้า ๕, ๑๗ เมษายน ๒๕๖๒
  4. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ SP1
  5. "คณะกรรมการสภาวิศวกร สมัยที่ 6 (2558-2561)". สภาวิศวกร. 2015. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-11-15. สืบค้นเมื่อ 2022-11-15.
  6. สภาวิศวกร - Council of Engineers Thailand (2021-12-09). "คณะกรรมการสภาวิศวกร ได้มีมติเลือก รองศาสตราจารย์ ปิยะบุตร วาณิชพงษพันธุ์ ดำรงตำแหน่งนายกสภาวิศวกร". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-11-15. สืบค้นเมื่อ 2022-11-15.
  7. "เตรียมตัวมา 30 ปี "สุชัชวีร์" พร้อมชิงผู้ว่าฯ กทม". Thai PBS. 2021-12-14.
  8. ""พี่เอ้" สุชัชวีร์ ชายผู้ประกาศตัว "ไม่กลัวทัวร์" ก่อนเปิดตัวลงผู้ว่าฯ กทม". BBC News ไทย. 10 Dec 2021. สืบค้นเมื่อ 2022-06-15.{{cite news}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  9. เอ้ สุชัชวีร์ - คณิตฯสร้างชาติ | Facebook, สืบค้นเมื่อ 2021-12-24
  10. "หัวใจของการพัฒนาประเทศ ไม่ใช่ภาษา? ประธาน ทปอ. – อธิการบดี สจล. ถูกวิจารณ์กรณีคลิป 'คณิตฯสร้างชาติ'". The MATTER. 2018-10-11.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  11. "เปลี่ยนชื่อระบบรับนศ.'แอดมิชชั่น'เป็น'TCAS'". dailynews. 2017-06-01.
  12. "วันแรกก็ล่มแล้ว!! สมัครเข้ามหา'ลัย ระบบ TCAS รอบ 3 นร.บ่นอนาคตเนี่ยจะล่ม". mgronline.com. 2018-05-09.
  13. "ปัญหา 'กั๊กที่นั่ง' ที่ระบบบังคับ- เมื่อ "TCAS" ระบบสอบเข้ามหาวิทยาลัย ทำเด็ก 'ปวดหัว'". ข่าวสด. 2018-05-30.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  14. "ชำแหละจุดอ่อน TCAS ภาระหนักอึ้งของ #Dek61 สะท้อนปัญหาใหญ่ระบบการศึกษาไทย". THE STANDARD. 2018-06-13.
  15. "กลับตัวก็ไม่ได้ จะเดินต่อไปยังไงให้ถึง? เข้าใจ TCAS และตามหาทางออกของระบบสอบเข้ามหาวิทยาลัยเจ้าปัญหา". a day magazine. 2018-06-13.
  16. "TCAS 61 ลงทุนเพื่ออนาคตไป ฉันได้อะไรมา". waymagazine.org. 2018-05-31.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  17. "บทเรียนเจ็บปวด TCAS : ผู้ใหญ่คิด แต่เด็กรับกรรม". VoiceTV. 1 Jun 2018.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  18. "ปม"สจล."ที่ปรึกษาโครงการริมฝั่งเจ้าพระยา "177ศิษย์เก่าสถาปัตย์"&"ผู้บริหาร" ใครเข้าใจผิด??". ผู้จัดการ. 23 April 2016. สืบค้นเมื่อ 25 December 2021.
  19. "โป๊ะแล้ว! 'เออร์เบิร์ต ไอน์สไตน์' ยันไม่เกี่ยวข้อง 'อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์' หลัง 'สุชัชวีร์' อ้าง". ข่าวสด. 2021-12-14.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  20. "สู่ขิต!! เปิดอีเมล์ ศ.เฮอร์เบิร์ต ไอน์สไตน์ อาจารย์พี่เอ้ ปัดไม่ได้เป็นญาติ อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์". มติชนออนไลน์. 2021-12-15.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  21. ""ดร.เอ้ สุชัชวีร์" ยันเชื่อ Herbert Einstein เป็นหลานไอน์สไตน์ เพราะรุ่นพี่บอก". www.sanook.com/news. 15 Dec 2021.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  22. ""ดร.เอ้ สุชัชวีร์" แจงแล้ว เชื่อโดยบริสุทธิ์ใจ เรียนกับหลาน "อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์"". pptvhd36.com. 15 Dec 2021.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  23. "สุชัชวีร์ปิ๊งไอเดีย ใช้เตตระพอดป้องกันกัดเซาะ เจอเสียงค้านชี้ไม่ได้เอาไปวางที่หาด". mgronline.com. 2021-12-30.
  24. "โป๊ะอีกไหม? เพจดัง ยกข้อมูลโต้ 'สุชัชวีร์' ปมปัญหากัดเซาะชายฝั่ง กทม. แนะแยก 'หาด-ฝั่ง' ให้ออก". ข่าวสด. 2021-12-30.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  25. "สุชัชวีร์ แจง หลังเพจดังเผยถูกทีมงานบล็อก ท้วงปมใช้ เตตระพอด กันคลื่น สู้น้ำทะเลหนุน". มติชนออนไลน์. 2021-12-30.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  26. "เจาะธุรกิจ "เมีย" - โชว์หลักฐาน! "ดร.เอ้" แจ้ง ป.ป.ช. "จดทะเบียนสมรส" ปี 63". กรุงเทพธุรกิจ. 2022-10-19.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  27. "THe Disruptor' เมืองไทย สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์". bangkokbiznews. 2019-08-01.
  28. "ถอดรหัสลับสู่ความสำเร็จในฐานะ The Disruptor แถวหน้าของเมืองไทย". ThaiPR.NET. 2021-09-22.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  29. "ข่าวสื่อมวลชน :มองอนาคตไทย". KMITL. 2017-02-15. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-11-23. สืบค้นเมื่อ 2022-11-23.
  30. คิดต่างสร้างการเปลี่ยนแปลงคิดต่างสร้างการเปลี่ยนแปลง ผู้เขียน: สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์
  31. A story of the impossible สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ผู้เขียน: สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์
  32. "รศ.ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ รับรางวัล "นักบริหารดีเด่นแห่งปี 2555". PRESS RELEASE. 2012-09-28. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-11-23. สืบค้นเมื่อ 2022-11-23.
  33. "Suchatvee 'Vince' Suwansawat". Eisenhower Fellowships (ภาษาอังกฤษ). 2013.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  34. "ศ.ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ นายก วสท. รับรางวัลนักเรียนทุนรัฐบาลไทยดีเด่น ประจำปี 2557". RYT8. 2014-12-30. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-11-23. สืบค้นเมื่อ 2022-11-23.
  35. kejjy (2015-12-17). "NIT Toyama College – KMITL President's Distinguished Honorary Award". Office of International Affairs :KMITL (ภาษาอังกฤษ). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-11-23. สืบค้นเมื่อ 2022-11-23.
  36. superdia (2017-11-01). "Honorary Doctorate awarded to Prof. Dr. Suchatvee Suwansawat". Office of International Affairs :KMITL (ภาษาอังกฤษ). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-11-23. สืบค้นเมื่อ 2022-11-23.
  37. "ศ.ดร.สุชัชวีร์ อธิการบดี สจล. ได้รับรางวัล บุคคลที่น่ายกย่องแห่งปี 2561". สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. 2018-04-06. สืบค้นเมื่อ 2022-11-23.{{cite news}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  38. "ศ.ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ นายก วสท. รับรางวัลนักเรียนทุนรัฐบาลไทยดีเด่น ประจำปี 2557". ไทยรัฐ . 2014-12-30. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-11-23. สืบค้นเมื่อ 2022-11-23.
  39. ""สุชัชวีร์" ติด1ใน12 ผู้รับรางวัลศิษย์เก่าเกียรติยศ สจล.ครบรอบ62ปี". คมชัดลึก. 2014-12-30. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-11-23. สืบค้นเมื่อ 2022-11-23.
  40. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ประจำปี ๒๕๖๔, เล่ม ๑๓๙ ตอนพิเศษ ๑ ข หน้า ๖๖, ๑๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕
  41. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นต่ำกว่าสายสะพาย ประจำปี ๒๕๖๐, เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๕๒ ข หน้า ๑๔๖, ๑๖ ตุลาคม ๒๕๖๐

แหล่งข้อมูลอื่น