ผู้ใช้:Zambo/เดวิด แมกมิลแลน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
Zambo/เดวิด แมกมิลแลน
ไฟล์:David McMillan.jpg
เกิดพ.ศ. 2499
ตำบลมารีโบน นครเวสต์มินสเตอร์ กรุงลอนดอน
สัญชาติออสเตรเลีย
อาชีพนักโทษ
มีชื่อเสียงจากแหกคุกหลายประเทศ

นายเดวิด แม็กมิลแลน (อังกฤษ: David McMillan; เกิด: พ.ศ. 2499) เป็นชาวบริติช-ออสเตรเลียซึ่งมีชื่อจากการกระทำความผิดลักลอบขนถ่ายยาเสพติดเข้าออกหลายประเทศ นายเดวิดเคยเป็นนักโทษต้องขังในประเทศไทยและลักลอบแหกคุกออกไปได้ ภายหลังไปให้สัมภาษณ์แก่สถานีโทรทัศน์บีบีซีและเขียนหนังสือเกี่ยวกับการแหกคุกของตนที่แฉความทุจริตฉ้อฉลในวงราชการไทยจนทำให้เจ้าหน้าที่ไทยเนื้อเต้น

ภูมิหลัง[แก้]

นายเดวิดเกิดที่ตำบลมารีโบน นครเวสต์มินสเตอร์ กรุงลอนดอน เมื่อ พ.ศ. 2499 โดยเป็นบุตรของนายจอห์น แม็กมิลแลน ผู้เป็นสมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งแห่งจักรวรรดิบริเตนชั้นตริตาภรณ์ และผู้บัญชาการสถานีโทรทัศน์แอสโซสิเอเทด-เรดิฟฟิวชัน

ด้านการศึกษา หลังจากย้านถิ่นฐานไปยังประเทศออสเตรเลียพร้อมครอบครัว นายเดวิดเข้าโรงเรียนไวยากรณ์โคลฟีลด์ นครเมลเบิร์น รัฐวิกตอเรีย พออายุได้สิบสองปีได้เป็นผู้รายงานข่าวเด็กออกรายการ "พีเทอส์จูเนียร์นิวส์" (อังกฤษ: Peters Junior News) ช่องไนน์เน็ตเวิร์ก ทุกคืนคืนละห้านาที และหลังจากได้ทำงานเป็นผู้จัดผังรายการภาพยนตร์และผู้ควบคุมกล้อง ณ โรงภาพยนตร์ในนครซิดนีย์ นายเดวิดก็เริ่มทำงานด้านโฆษณาให้แก่บริษัทเมซีอัส ไวน์ วิลเลียมส์ (อังกฤษ: Masius Wynne Williams) ที่นครเมลเบิร์น

A part-time job at a city cinema introduced McMillan to the fringes of the underworld; a group of safe-crackers who had turned to narcotics when police surveillance curtailed their traditional profession. Connections with the free-marijuana hippie lobbyists brought those two worlds together, and an opportunity for someone well-travelled. McMillan then began a career as a narcotics smuggler during which he developed the bag-duplication system at Sydney's Kingsford-Smith airport in the late '70s when smuggling hashish from India.

In 1979, McMillan fell out with disgraced peer, Lord Tony Moynihan, after the exiled lord attempted to trap McMillan in a gambling-sting operation using the large-scale bets of the Chinese-run cockfights in Manila. Moynihan had hoped to employ McMillan's technical expertise to detonate an explosive capsule in the necks of fighting cocks, and so determine the winners. In fact, Moynihan planned only to swindle McMillan of the betting stake after a test game. McMillan was alerted to the scam by his Chinese film-making friends and left the Philippines after cautioning Moynihan. Lord Tony would later move on to hoodwink smuggler Howard Marks in the '80s, resulting in Marks's conviction and imprisonment in Florida.

Imprudent spending attracted the attention of federal police when a Clenet car was imported from California bearing papers that had greatly undervalued the vehicle. This slip led to a major investigation revealing houses, businesses and properties along the eastern coast of Australia bought with cash and valued in millions. These assets later became the subject of Australia's first important confiscation of drug-earned assets.

การถูกจับกุมในออสเตรเลีย[แก้]

นายเดวิดพร้อมด้วยนายไมเคิล ซุลลิแวน (อังกฤษ: Michael Sullivan) หุ้นส่วนธุรกิจ ถูกคณะทำงาน "โอเพอเรชันแอรีส์" (อังกฤษ: Operation Aries) ซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่างตำรวจส่วนท้องถิ่นรัฐวิกตอเรียและตำรวจส่วนกลาง จับกุมตัวในข้อหาใช้หนังสือเดินทางปลอมสามสิบฉบับ คดีของนายเดวิดแม้เข้าสู่กระบวนพิจารณากินระยะเวลาหกเดือน ใช้พยานบุคคลหนึ่งร้อยสิบหกปาก และมีการแยกตัวลูกขุนเพื่อพิจารณาคดีถึงเจ็ดวัน คณะลูกขุนก็ยังไม่อาจตัดสินคดีได้

คดีนี้ได้รับความสนใจมากเมื่อจำเลยทั้งสอง

After three years he and business partner Michael Sullivan were arrested following Operation Aries, a Victoria Police - Federal Police taskforce operation reported to have cost over A$2 million. McMillan stood accused of travelling under thirty false passports and keeping station houses in London, Brussels and Bangkok. The consequent six-month trial produced 116 witnesses and a hung jury that finally returned a verdict after seven days sequestration.

The trial was highlighted by charges of an attempt to escape Melbourne's high-security Pentridge prison by helicopter using former SAS personnel (a scheme engineered by a vengeful Lord Moynihan - see Helicopter prison escapes)[1], and was blackened by the deaths of McMillan and Sullivan's partners Clelia Vigano and Marie Castello by fire while being held without bail in the first weeks following the arrests.

การถูกจับกุมในไทย[แก้]

หลังจากได้รับการปล่อยตัวโดยก่อนครบกำหนดโทษแต่มีทัณฑ์บน ใน พ.ศ. 2538 นายเดวิดเดินทางเข้าประเทศไทยด้วยอากาศยาน โดยวางแผนจะเที่ยวเล่นสักสองสามวัน แต่ก็ถูกจับกุมตัวได้ที่เขตเยาวราช กรุงเทพมหานคร เพราะลักลอบนำยาเสพติดเข้ามาด้วย และจำขังไว้ ณ เรือนจำกลางคลองเปรม ก่อนจะแหกคุกหนีไปได้ในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2539 ด้วยการเลื่อยลูกกรงห้องขัง ใช้วัตถุหนักต่อยกำแพงชั้นในสี่ชั้นเป็นรูลอดออกไป ก่อนจะใช้บันไดลิงปีนไต่กำแพงชั้นนอกออกพ้นคุกได้สำเร็จ ณ คืนหนึ่งในเดือนดังกล่าว เมื่อพ้นคุกในคืนนั้น นายเดวิดก็จัดหาเอกสารปลอมใช้หลบหนีออกจากไทยได้โดยไม่ชักช้า โดยบินจากกรุงเทพมหานครไปยังมณฑลหนึ่งในประเทศปากีสถาน มีเพื่อนคือนายมีร์นูร์เจฮานมักซี (Mir Noor Jehan Magsi) ชนเผ่ามักซี ให้การคุ้มครองดูแล ณ ที่นั้น นายเดวิดเริ่มดำเนินธุรกิจกับชาวสแกนดิเนเวีย[3] รายละเอียดเรื่องการแหกคุกไทยของนายเดวิดปรากฏในหนังสือชีวประวัติของเขาเอง

ต่อมาวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2552 นายเดวิดให้สัมภาษณ์แก่นางสาวออเดรย์ คาร์วิลล์ ผู้สื่อข่าวของสถานีโทรทัศน์บีบีซี[2] ว่า เมื่อสิบสี่ปีก่อนตนถูกจับกุมโดยตำรวจสี่นายที่กรุงเทพมหานคร และส่งตัวไปจำขังที่เรือนจำกลางคลองเปรม สภาพห้องขังในเรือนจำของไทยนั้นมีสภาพแออัดเหมือนปลากระป๋อง เพราะนักโทษประมาณยี่สิบห้าคน ถูกจับรวมอยู่ในห้องเดียวกัน ขณะที่มาตรการควบคุมความปลอดภัยก็มิได้เข้มงวดมากนัก เพราะผู้คุมและเจ้าหน้าที่ในเรือนจำมีน้อยไม่เพียงพอกับจำนวนคนโทษ โดยประเมินว่าเจ้าหน้าที่หนึ่งคนต้องรับภาระดูแลนักโทษประมาณหนึ่งร้อยยี่สิบคน

นายเดวิดยังบรรยายเพิ่มเติมอีกว่า แผนการหลบหนีออกจากเรือนจำของเขามิได้เป็นความลับ เพราะมีการชักชวนเพื่อนนักโทษชาวต่างชาติที่อยู่ในเรือนจำหลบหนีไปด้วยกัน แต่ไม่มีใครเอาด้วย เขายังอ้างอีกว่า ก่อนหน้านั้นเคยมีนักโทษชายห้าคน พยายามหลบหนีออกจากเรือนจำ แต่ถูกเจ้าหน้าที่จับได้ จึงถูกลงโทษอย่างทารุณด้วยการจับขังในตู้ล็อกเกอร์ที่ถูกนำออกไปตั้งกลางแดดร้อนจัด จนนักโทษสี่รายเสียชีวิตในเวลาต่อมา

นอกจากนี้ นายเดวิดยังเปิดโปงด้วยว่า ในเรือนจำกลางคลองเปรมมีขบวนการทุจริตรับสินบนฉ้อฉลต่าง ๆ นานา เป็นกระบวนการจัดหาข้าวของต่าง ๆ ส่งเข้าไปให้นักโทษในห้องขังตามที่ตกลงกัน โดยนายเดวิดได้จ่ายเงินเพื่อแลกเปลี่ยนกับเลื่อยตัดโลหะที่ส่งมาในห่อพัสดุ และใช้เลื่อยดังกล่าวค่อย ๆ ตัดซี่ลูกกรงจนสามารถหลบหนีออกมาได้ในคืนหนึ่งในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2539 เขากล่าวอีกว่า เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยในเรือนจำไทยชอบหลับยามในเวลากลางคืน และวันก่อเหตุหลบหนีมีเจ้าหน้าที่ออกตรวจรอบเรือนจำเพียงคนเดียว ช่วยให้การแหกคุกครั้งนั้นประสบความสำเร็จ และในวันที่แหกคุกนั้น นายเดวิดระบุว่าทุกอย่างดูง่ายดาย เพราะในความเป็นจริงข้าวของเครื่องใช้ในห้องขังนักโทษเป็นตัวช่วยในการหลบหนีได้ทั้งนั้น ไม่ว่าจะเป็นโต๊ะที่นำมาใช้ปีน ผ้าม่านที่ใช้ได้แทนเชือก และเมื่อหลบหนีออกมาภายนอกเรือนจำได้ในเวลาประมาณ 03.30-04.00 นาฬิกา เขาก็ไปติดต่อขอทำหนังสือเดินทางปลอม แล้วเดินทางออกจากไทยทันที

ในบทสัมภาษณ์ของสถานีโทรทัศน์บีบีซียังระบุด้วยว่า นายเดวิดเมื่อหลบหนีมาใช้ชีวิตนอกเรือนจำได้แล้ว ก็ยังได้เขียนหนังสือชื่อ "เอสเคพ" (อังกฤษ: Escape; "แหกคอก") ที่ระบุว่าเป็นเรื่องจริงเขียนจากประสบการณ์จริงของนักโทษชาวตะวันตกเพียงคนเดียวที่สามารถหลบหนีออกจากเรือนจำในกรุงเทพมหานครได้ หนังสือเล่มนี้จัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์เมนสตรีม (อังกฤษ: Mainstream) และออกวางจำหน่ายไปทั่วโลกเมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2551

ซึ่งเมื่อมีการรายงานข่าวนี้ในประเทศไทยเมื่อวันที่ 2 มีนาคม ปีเดียวกันนั้น นายนัทธี จิตสว่าง อธิบดีกรมราชทัณฑ์ เปิดเผยว่ายังไม่ทราบรายละเอียดในเรื่องดังกล่าว ขอเวลาตรวจสอบอีกครั้งหนึ่ง สำหรับประเด็นผู้ต้องขังหลบหนีออกจากเรือนจำ ทางเรือนจำต้องแจ้งความตำรวจท้องที่ เพื่อติดตามตัวผู้ต้องขังกลับมาดำเนินคดี หากมีการหลบหนีออกไปจากประเทศไทย เบื้องต้นเป็นหน้าที่ของอัยการร่วมกับตำรวจที่จะประสานขอตัวผู้ต้องขังเป็นผู้ร้ายข้ามแดนกลับมาดำเนินคดี[4]

การถูกจับกุมในปากีสถาน[แก้]

Some years later, McMillan was arrested in Lahore, Pakistan as a result of the confession of a captured courier and flown to Karachi where he was held in Karachi Central Jail. The prison maintained a class system for prisoners through which McMillan kept servants and private rooms. Due to a financial dispute with the prison superintendent concerning his illegal cellphone, McMillan was transferred at night to Hyderabad jail where he was kept in the dungeons until being rescued by Lord Magsi. Not wishing to add the existing Interpol warrants, McMillan returned to Karachi to stand trial where he was acquitted by a Customs Court judge who found there was no evidence that McMillan had sponsored the courier. The courier, a former boxer from Liverpool, was sentenced to five years, eventually released and has since disappeared.

During his time in Hyderabad, McMillan formed a friendship with the Moscow street gang whose remaining members were completing a ten-year sentence for the hijack of a commercial liner outside their Russian prison. The gang had been separated by the Russian prison authorities, a decision overcome by gang leader Andreas who flew his hijacked aircraft to Krasnoyarsk from where he freed the other members of his team before flying to Pakistan, then under the control of General Zia al Huq, known for his independence from both the Soviet Union and the US. The story of the Russian prisoners and their ordeal has been written of by McMillan in White Russians. David McMillan returned to London in 1999 however was arrested the following year in Copenhagen and later at Heathrow, although for relatively minor offences.

เชิงอรรถ[แก้]

  1. Sydney Morning Herald. Copter Plan Foiled. 21 January 1983
  2. 2.0 2.1 "How to plan a successful jailbreak," 2009 : Online.
  3. Andrew Rule, 2000.
  4. "ฝรั่งแหกคุกไทย ออกไปแฉเละ," 2552 : ออนไลน์.

อ้างอิง[แก้]