มะนิลา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก Manila)
มะนิลา

Lungsod ng Maynila
เมืองหลวง
ธงของมะนิลา
ธง
ตราอย่างเป็นทางการของมะนิลา
ตรา
แผนที่กรุงมะนิลาภายในนครหลวงมะนิลา
แผนที่กรุงมะนิลาภายในนครหลวงมะนิลา
ประเทศ ฟิลิปปินส์
ภูมิภาคเขตนครหลวง
Districts1st to 6th districts of Manila
Kingdom of Maynila1500s
Spanish City of Manila24 มิถุนายน 1571
จำนวนบารังไกย์ (District)897
การปกครอง[1]
 • ประเภทรัฐบาลนายกเทศมนตรีสภา
 • นายกเทศมนตรีโจเซฟ เอสตราดา (สหรัฐพันธมิตรผู้รักชาติ)
 • รองนายกเทศมนตรีอิสโก โมเรโน (สหรัฐพันธมิตรผู้รักชาติ)
 • สภาผู้แทนราษฎร
City Representatives
 • สภาเมือง
Councilors
พื้นที่
 • เมืองหลวง38.55 ตร.กม. (14.88 ตร.ไมล์)
 • เขตเมือง1,474.82 ตร.กม. (569.43 ตร.ไมล์)
 • รวมปริมณฑล638.55 ตร.กม. (246.55 ตร.ไมล์)
ความสูง16.0 เมตร (52.5 ฟุต)
ประชากร
 (2010)[2]
 • เมืองหลวง1,652,171 คน
 • ความหนาแน่น42,858 คน/ตร.กม. (111,000 คน/ตร.ไมล์)
 • เขตเมือง21,951,000 คน
 • ความหนาแน่นเขตเมือง15,400 คน/ตร.กม. (40,000 คน/ตร.ไมล์)
 • รวมปริมณฑล11,855,975 คน
 • ความหนาแน่นรวมปริมณฑล18,567 คน/ตร.กม. (48,090 คน/ตร.ไมล์)
เดมะนิมManileño (m) / Manileña (f), Manilan
เขตเวลาUTC+8 (PST)
ZIP code0900 to 1096
Area code2
เว็บไซต์www.manila.gov.ph

มะนิลา (อังกฤษ: Manila; ฟิลิปปินส์: Maynila) เป็นเมืองหลวงของประเทศฟิลิปปินส์ ตั้งอยู่บนชายฝั่งตะวันออกของอ่าวมะนิลา (Manila Bay) บนเกาะลูซอนซึ่งเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดและตั้งอยู่ทางเหนือสุดของฟิลิปปินส์ บางส่วนของเมืองมีความยากจน อย่างไรก็ดี มะนิลาเป็นเมืองที่มีชนชาติรวมกันอยู่มากมาย และเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม การศึกษา และอุตสหากรรมของประเทศ มะนิลาคือศูนย์กลางของเขตมหานครที่มีประชากรมากกว่า 10 ล้านคน เขต เมโทรมะนิลา (Metro Manila) เป็นมหานครที่ใหญ่กว่า ประกอบด้วยเมืองและเทศบาล 17 แห่ง เฉพาะเมืองมะนิลาเองเป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 2 มีประชากรประมาณ 1.5 ล้านคน เมืองเดียวที่มีประชากรมากกว่าคือเมืองเกซอนซิตี (Quezon City) ชานเมืองและอดีตเมืองหลวง มะนิลาตั้งอยูที่ 14°35' เหนือ 121°0' ตะวันออก [1] เก็บถาวร 2012-08-23 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน

ภูมิศาสตร์[แก้]

มะนิลามีพื้นที่กว้างประมาณ 38.55 ตารางกิโลเมตร นับเป็นเมืองหลวงที่มีพื้นที่กว้างขวางน้อยที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้[3]

ภูมิอากาศ[แก้]

ข้อมูลภูมิอากาศของมะนิลา (1971-2000)
เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ทั้งปี
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) 29.5
(85.1)
30.5
(86.9)
32.1
(89.8)
33.5
(92.3)
33.2
(91.8)
32.2
(90)
31.1
(88)
30.6
(87.1)
30.9
(87.6)
30.9
(87.6)
30.7
(87.3)
29.7
(85.5)
31.24
(88.24)
อุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละวัน °C (°F) 26.5
(79.7)
27.2
(81)
28.5
(83.3)
29.9
(85.8)
30.0
(86)
29.2
(84.6)
28.5
(83.3)
28.1
(82.6)
28.2
(82.8)
28.2
(82.8)
27.1
(80.8)
26.2
(79.2)
28.13
(82.64)
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) 18.5
(65.3)
20.8
(69.4)
25.9
(78.6)
26.2
(79.2)
26.7
(80.1)
26.2
(79.2)
25.8
(78.4)
25.5
(77.9)
25.5
(77.9)
25.5
(77.9)
24.9
(76.8)
23.9
(75)
24.62
(76.31)
หยาดน้ำฟ้า มม (นิ้ว) 19.0
(0.748)
7.9
(0.311)
11.1
(0.437)
21.4
(0.843)
165.2
(6.504)
265.0
(10.433)
419.6
(16.52)
486.1
(19.138)
330.3
(13.004)
270.9
(10.665)
129.3
(5.091)
75.4
(2.969)
2,201.2
(86.661)
วันที่มีฝนตกโดยเฉลี่ย 1.0 1.0 1.0 1.0 7.0 14.0 16.0 19.0 17.0 13.0 9.0 5.0 104
จำนวนชั่วโมงที่มีแดด 186 196 248 270 217 180 180 155 150 186 180 186 2,334
แหล่งที่มา 1: World Meteorological Organization[4]
แหล่งที่มา 2: Hong Kong Observatory (sunshine data 1961-1990)[5]

ประชากร[แก้]

ในวันที่ 13 กันยายน 2556 ในกรุงมะนิลามีประชากรประมาณ 3.27 ล้านคน ทั้งหมดมีเชื้อสายลูกผสมของฟิลิปปินส์กับสเปน

อ้างอิง[แก้]

  1. "Cities". Quezon City, Philippines: Department of the Interior and Local Government. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-03-09. สืบค้นเมื่อ 30 November 2012.
  2. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ 2010 census
  3. "AEC INSIGHT กับ เกษมสันต์: ข่าววันใหม่". ช่อง 3. 26 November 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-03-23. สืบค้นเมื่อ 26 November 2014.
  4. "World Weather Information Service - Manila". World Meteorological Organization. สืบค้นเมื่อ January 13, 2013.
  5. "Climatological Information for Manila, Philippines". Hong Kong Observatory. 12 January 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-12-26. สืบค้นเมื่อ 2013-03-19.