ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แบคทีเรีย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
แบคทีเรียบางชนิดสามารถมองด้วยตาเปล่าเห็นได้เช่นEpulopisciumเป็นจำพวกพารามีเซียมมีขนาดถึง600ไมโครเมตร
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
แปลส่วนนำจาก en:bacteria
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{Automatic taxobox
{{ต้องการอ้างอิง}}
| name = Bacteria
{{ตารางจำแนกพันธุ์อัตโนมัติ
| fossil_range = {{Long fossil range|3800|0|[[Archean]] or earlier – [[Holocene|present]]}}
| name = แบคทีเรีย
| taxon = Bacteria
| status =
| fossil_range =
| image = EscherichiaColi NIAID.jpg
| image = EscherichiaColi NIAID.jpg
| image_caption = ''[[Escherichia coli]]''
| image_caption = [[Scanning electron microscope|Scanning electron micrograph]] of ''[[Escherichia coli]]'' [[bacillus (shape)|rods]]
| domain = '''แบคทีเรีย''' ([[Bacteria]])
| taxon = Bacteria
| authority = [[Carl Woese|Woese]], [[Otto Kandler|Kandler]] & [[Mark Wheelis|Wheelis]], 1990<ref name="Woese"/>
| regnum = '''ยูแบคทีเรีย''' ([[Eubacteria]])
| subdivision_ranks = Phyla
| divisio =
| subdivision ={{plainlist|
| classis =
* [[Acidobacteria]]
| ordo =
* [[Actinobacteria]]
| familia =
* [[Aquificae]]
| genus =
* [[Armatimonadetes]]
| species =
* [[Bacteroidetes]]
| binomial =
* [[Caldiserica]]
| binomial_authority =
* [[Chlamydiae]]
| subdivision_ranks = [[วงศ์ (ชีววิทยา)|เหนือวงศ์]] และ [[วงศ์ (ชีววิทยา)|วงศ์]]
* [[Chlorobi]]
| subdivision =
* [[Chloroflexi (phylum)|Chloroflexi]]
:[[Actinobacteria]]
* [[Chrysiogenetes]]
:[[Aquificae]]
* [[Coprothermobacterota]]<ref>{{cite journal | vauthors = Pavan ME ''et al.''| s2cid = 4470260 | title = Proposal for a new classification of a deep branching bacterial phylogenetic lineage: transfer of Coprothermobacter proteolyticus and Coprothermobacter platensis to Coprothermobacteraceae fam. nov., within Coprothermobacterales ord. nov., Coprothermobacteria classis nov. and Coprothermobacterota phyl. nov. and emended description of the family Thermodesulfobiaceae. | journal = Int. J. Syst. Evol. Microbiol. | volume = 68 | issue = 5 | pages = 1627–32 | date = May 2018 | pmid = 29595416 | doi = 10.1099/ijsem.0.002720 | doi-access = free }}</ref>
:[[Bacteroidetes]]/[[Chlorobi]]
* [[Cyanobacteria]]
:[[Chlamydiae]]/[[Verrucomicrobia]]
* [[Deferribacteres]]
:[[Chloroflexi]]
* [[Deinococcus-Thermus]]
:[[Chrysiogenetes]]
:[[Cyanobacteria]]
* [[Dictyoglomi]]
* [[Elusimicrobia]]
:[[Deferribacteraceae|Deferribacteres]]
* [[Fibrobacteres]]
:[[Deinococcus-Thermus]]
:[[Dictyoglomi]]
* [[Firmicutes]]
* [[Fusobacteria]]
:[[Fibrobacteres]]/[[Acidobacteria]]
* [[Gemmatimonadetes]]
:[[Firmicutes]]
:[[Fusobacteria]]
* [[Lentisphaerae]]
* [[Nitrospirae]]
:[[Gemmatimonadetes]]
* [[Planctomycetes]]
:[[Nitrospirae]]
* [[Proteobacteria]]
:[[Omnibacteria]]
* [[Spirochaetes]]
:[[Planctomycetes]]
* [[Synergistetes]]
:[[Proteobacteria]]
:[[Spirochaete]]s
* [[Tenericutes]]
:[[Thermodesulfobacteria]]
* [[Thermodesulfobacteria]]
* [[Thermotogae]]
:[[Thermomicrobia]]
* [[Verrucomicrobia]]}}
:[[Thermotogae]]
| synonyms = :Eubacteria {{small|Woese & Fox, 1977}}<ref name=Woese1977 />
}}
}}
'''แบคทีเรีย''' หรือ '''บัคเตรี''' เป็นประเภทของสิ่งมีชีวิตประเภทใหญ่ประเภทหนึ่ง มีขนาดเล็กบางชนิดก็สามารถมองด้วยตาเปล่าได้ ส่วนใหญ่มี[[เซลล์]][[เดียว]] และมีโครงสร้าง[[เซลล์]]ที่ไม่ซับซ้อนมาก และโดยทั่วไปแบคทีเรียแบ่งได้หลายรูปแบบ
* แบ่งตามรูปร่าง แบ่งได้หลายแบบทั้งกลม (cocci) ,แบบท่อน (bacilli,rod) ,แบบเกลียว (spiral) ซึ่งแต่ละแบบก็จะมีการจัดเรียงเซลล์ต่างกัน
* แบ่งตามการย้อมติดสีแกรม (Gram's stain) มีได้สองลักษณะคือพวกที่ติดสีแกรมบวก (Gram positive) และที่ติดสีแกรมลบ (Gram negative) แต่บางชนิดสามารถติดสีทั้งสองเรียกว่า Gram variable ซึ่งเกี่ยวข้องกับ[[ผนังเซลล์]]ของแบคทีเรีย
* แบ่งตามความต้องการใช้อ๊อกซิเจน ซึ่งมีหลายแบบคือ aerobic bacteria, anaerobic bacteria, facultativeaerobic bacteria, microaerofilic bacteria เป็นต้น
* แบ่งกลุ่มแบคทีเรียตามแหล่งอาหารและพลังงานได้เป็น
** ออโตโทรป (autothroph) แหล่งคาร์บอนสำหรับสร้าง[[สารอินทรีย์]]มาจาก CO2 ได้แก่แบคทีเรียที่สังเคราะห์ด้วยแสงได้
** เฮเทอโรโทรป (heterothroph) แหล่งคาร์บอนมาจากการย่อยสลายสารอินทรีย์ ได้แก่แบคทีเรียที่ดูดซับสารอาหารเป็นแหล่งพลังงานทั่วไป
** โฟโตโทรป (photothroph) ได้พลังงานเริ่มต้นจากแสง
** คีโมโทรป (chemothroph) ได้พลังงานเริ่มต้นจากสารเคมี
แบคทีเรียบางชนิดอยู่รอดในสภาพที่เลวร้ายหรือไม่เหมาะสมต่อการเจริญได้โดยการสร้าง[[เอ็นโดสปอร์]] (endospore) เมื่อสภาวะแวดล้อมเหมาะสม เอ็นโดสปอร์จะดูดซับน้ำและเจริญเป็นแบคทีเรียใหม่ เอ็นโดสปอร์ทำลายยาก บางชนิดอยู่ได้ถึง 100 ปี


'''แบคทีเรีย''' หรือ '''บัคเตรี''' ({{lang-en|'''bacteria'''{{IPAc-en|audio=en-us-bacteria.ogg|b|æ|k|ˈ|t|ɪər|i|ə}}''';''' เอกพจน์ '''bacterium'''}}) เป็น[[เซลล์ (ชีววิทยา)|เซลล์]]ประเภทหนึ่ง ประกอบด้วย[[โดเมน (ชีววิทยา)|โดเมน]]ขนาดใหญ่ของ[[จุลชีพ]]ที่เป็น[[โพรแคริโอต]] โดยมากมีความยาวไม่กี่[[ไมโครเมตร]] แบคทีเรียมีรูปร่างที่หลากหลาย ตั้งแต่ทรงกลมไปจนถึงแบบแท่งและแบบเกลียว แบคทีเรียเป็นหนึ่งในรูปแบบแรก ๆ ของชีวิตที่ปรากฏขึ้นบน[[โลก]] และพบได้ในสิ่งแวดล้อมเกือบทุกรูปแบบ แบคทีเรียอาศัยอยู่ในดิน, แหล่งน้ำ, [[น้ำพุร้อน]]ที่มีความเป็นกรด, [[ขยะกัมมันตรังสี]]<ref>{{cite journal | vauthors = Fredrickson JK, Zachara JM, Balkwill DL, Kennedy D, Li SM, Kostandarithes HM, Daly MJ, Romine MF, Brockman FJ | title = Geomicrobiology of high-level nuclear waste-contaminated vadose sediments at the Hanford site, Washington state | journal = Applied and Environmental Microbiology | volume = 70 | issue = 7 | pages = 4230–41 | date = July 2004 | pmid = 15240306 | pmc = 444790 | doi = 10.1128/AEM.70.7.4230-4241.2004 }}</ref>, และ[[ชีวมณฑลส่วนลึก]]ของ[[แผ่นเปลือกโลก]] และยังดำรงความสัมพันธ์แบบ[[Symbiotic|อยู่ร่วมกัน]]และแบบ[[ปรสิต]]กับพืชและสัตว์ แบคทีเรียส่วนมากยังไม่ถูกอธิบายคุณลักษณะ และมีเพียงร้อยละ 27 ของ[[ไฟลัมแบคทีเรีย]]ที่สามารถ[[Microbiological culture|เติบโต]]ในห้องปฏิบัติการณ์<ref name="Dudek">{{cite journal | vauthors = Dudek NK, Sun CL, Burstein D | title = Novel Microbial Diversity and Functional Potential in the Marine Mammal Oral Microbiome | journal = Current Biology | volume = 27 | issue = 24 | pages = 3752–3762 | year = 2017 | doi = 10.1016/j.cub.2017.10.040 | pmid = 29153320 | s2cid = 43864355 | url = https://escholarship.org/content/qt1w91s3vq/qt1w91s3vq.pdf?t=pghuwe }}</ref> สาขาวิชาที่ศึกษาแบคทีเรียรู้จักกันในชื่อ [[แบคทีเรียวิทยา]] (bacteriology) อันเป็นสาขาหนึ่งของ[[จุลชีววิทยา]]
[[ไฟล์:Chart Tree of life colored.png|thumb|left|250px|[[แผนภูมิต้นไม้]]แบบวงกลม แสดง[[วงศ์วานวิวัฒนาการ]] ของ[[สิ่งมีชีวิตระบบเซลล์]] โดยแบ่งตาม[[อาณาจักร (ชีววิทยา)|อาณาจักร]]และโดเมน สีม่วงคือ'''แบคทีเรีย''' สีเทาเข้มคือ[[อาร์เคีย]] สีน้ำตาลคือ[[ยูแคริโอต]] โดยยูแคริโอตยังแบ่งออกเป็น 5 อาณาจักรคือ [[สัตว์]] (แดง) [[ฟังไจ]] (น้ำเงิน) [[พืช]] (เขียว) [[โครมาลวีโอลาตา]] (น้ำทะเล) และ [[โพรทิสตา]] (เหลืองทอง) โดยมีจุดศูนย์กลางคือ [[บรรพบุรุษร่วมที่ใกล้กันที่สุดของสิ่งมีชีวิตบนโลก]] (LUCA) ]]


สัตว์เกือบทุกชนิดล้วนพึ่งพาแบคทีเรียเพื่อการดำรงชีวิต เนื่องจากมีเพียงแบคทีเรียและและ[[อาร์เคีย]]บางชนิดมีเอนไซม์ที่จำเป็นสำหรับการสร้าง[[วิตามินบี 12]] ([[โคบาลามิน]]) และส่งผ่านวิตามินนี้ทางห่วงโซ่อาหาร วิตามินบี 12 เป็น[[วิตามิน]]สามารถละลายในน้ำได้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับกระบวนการ[[เมแทบอลิซึม]]ของทุก[[เซลล์ (ชีววิทยา)|เซลล์]]ในร่างกายมนุษย์ เป็น[[โคแฟกเตอร์]]ใน[[การจำลองดีเอ็นเอ|กระบวนการสังเคราะห์ดีเอ็นเอ]] และกระบวนการเมแทบอลิซึมของ[[เมแทบอลิซึมของกรดไขมัน|กรดไขมัน]]และ[[เมแทบอลิซึมกรดอะมิโน|กรดอะมิโน]] มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการทำงานตามปกติของ[[ระบบประสาท]] ผ่านบทบาทใน[[การสังเคราะห์ไมอีลิน]]<ref name="Fang">{{cite journal | vauthors = Fang H, Kang J, Zhang D | title = 12: a review and future perspectives | journal = Microbial Cell Factories | volume = 16 | issue = 1 | pages = 15 | date = January 2017 | pmid = 28137297 | pmc = 5282855 | doi = 10.1186/s12934-017-0631-y }}</ref><ref>{{cite journal | vauthors = Moore SJ, Warren MJ | title = The anaerobic biosynthesis of vitamin B12 | journal = Biochemical Society Transactions | volume = 40 | issue = 3 | pages = 581–6 | date = June 2012 | pmid = 22616870 | doi = 10.1042/BST20120066 }}</ref><ref>{{cite book|last1=Graham|first1=Ross M.|last2=Deery|first2=Evelyne|last3=Warren|first3=Martin J.|editor1-last=Warren|editor1-first=Martin J.|editor2-last=Smith|editor2-first=Alison G.|editor2-link=Alison Gail Smith | name-list-style = vanc |title=Tetrapyrroles Birth, Life and Death|date=2009|publisher=Springer-Verlag|location=New York, NY|isbn=978-0-387-78518-9|page=286|chapter=18: Vitamin B<sub>12</sub>: Biosynthesis of the Corrin Ring|doi=10.1007/978-0-387-78518-9_18}}</ref><ref>{{cite journal | vauthors = Miller A, Korem M, Almog R, Galboiz Y | title = Vitamin B12, demyelination, remyelination and repair in multiple sclerosis | journal = Journal of the Neurological Sciences | volume = 233 | issue = 1–2 | pages = 93–7 | date = June 2005 | pmid = 15896807 | doi = 10.1016/j.jns.2005.03.009 | s2cid = 6269094 }}</ref> ปกติมีแบคทีเรียประมาณ 40 ล้านเซลล์ในดินหนึ่งกรัม และประมาณหนึ่งล้านเซลล์ใน[[น้ำจืด]]หนึ่งมิลลิลิตร ประมาณกันว่ามีแบคทีเรียประมาณ 5×10<sup>30</sup> ตัวบนโลก<ref name="pmid9618454">{{cite journal | vauthors = Whitman WB, Coleman DC, Wiebe WJ | title = Prokaryotes: the unseen majority | journal = Proceedings of the National Academy of Sciences of the United States of America | volume = 95 | issue = 12 | pages = 6578–83 | date = June 1998 | pmid = 9618454 | pmc = 33863 | doi = 10.1073/pnas.95.12.6578 | bibcode = 1998PNAS...95.6578W }}</ref> ทำให้เกิด[[มวลชีวภาพ]]ที่เป็นรองเพียงแต่พืชเท่านั้น<ref name="Bar-On">{{cite journal | vauthors = Bar-On YM, Phillips R, Milo R | title = The biomass distribution on Earth | journal = Proceedings of the National Academy of Sciences of the United States of America | volume = 115 | issue = 25 | pages = 6506–6511 | date = June 2018 | pmid = 29784790 | pmc = 6016768 | doi = 10.1073/pnas.1711842115 | url = http://www.pnas.org/content/early/2018/05/15/1711842115.full.pdf }}</ref> แบคทีเรียมีความจำเป็นสำหรับหลายขั้นใน[[วัฏจักรของสารอาหาร]] ด้วยการนำสารอาหารกลับมาใช้ใหม่ ดังเช่น[[การตรึงไนโตรเจน]]จาก[[ชั้นบรรยากาศ]] วัฏจักรสารอาหารยังรวมถึง[[การเน่าเปื่อย|กระบวนการเน่าเปื่อย]] (decomposition) ของ[[Cadaver|ซากสิ่งมีชีวิต]] ซึ่งแบคทีเรียมีส่วนเกี่ยวข้องในขั้นตอน[[การเน่าสลาย]] (putrefaction) ของกระบวนการดังกล่าว<ref>{{cite book | vauthors = Forbes SL | veditors = Tibbett M, Carter DO | title = Soil Analysis in Forensic Taphonomy|publisher=CRC Press |year=2008 |pages=203–223 |chapter=Decomposition Chemistry in a Burial Environment |isbn=978-1-4200-6991-4}}</ref> ในกลุ่มสังคมทางชีววิทยาโดยรอบ[[ปล่องน้ำร้อน]]และ[[ปล่องน้ำเย็น]]ใต้ทะเล แบคทีเรียอิกซ์ตรีโมไฟล์ (extremophile) เป็นผู้ให้สารอาหารที่จำเป็นสำหรับการดำรงชีวิตด้วยการเปลี่ยนรูปสารประกอบที่ละลายอยู่ในน้ำ (เช่น[[ไฮโดรเจนซัลไฟด์]]และ[[มีเทน]]) ให้เป็นพลังงาน
== การจำแนกแบคทีเรียในทางอนุกรมวิธาน ==

ในมนุษย์และสัตว์ส่วนมากมีแบคทีเรียอาศัยอยู่ในท่อ[[ทางเดินอาหาร]]และ[[ผิวหนัง]]เป็นจำนวนมาก<ref>{{cite journal | vauthors = Sears CL | title = A dynamic partnership: celebrating our gut flora | journal = Anaerobe | volume = 11 | issue = 5 | pages = 247–51 | date = October 2005 | pmid = 16701579 | doi = 10.1016/j.anaerobe.2005.05.001 }}</ref> แบคทีเรียส่วนใหญ่ที่อยู่ในร่างกายถูกทำให้ไร้พิษภัยโดยผลของ[[ระบบภูมิคุ้มกัน]] บางชนิด[[โพรไบโอติก|ให้ประโยชน์]]ต่อร่างกาย โดยเฉพาะที่อยู่ในทางเดินอาหาร อย่างไรก็ตาม มีแบคทีเรียบางสปีชีส์เป็นเชื้อที่ก่อ[[โรคติดเชื้อ]] อาทิ [[อหิวาตกโรค]] [[ซิฟิลิส]] [[แอนแทรกซ์]] [[โรคเรื้อน]] [[กาฬโรคต่อมน้ำเหลือง]] โรคอันตรายถึงที่เกิดจากแบคทีเรียที่พบได้บ่อยคือ [[โรคติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจ]] [[วัณโรค]]เพียงอย่างเดียวคร่าชีวิตประมาณ 2 ล้านคนในแต่ละปี ส่วนใหญมาจาก[[แอฟริกาใต้สะฮารา]]<ref>{{cite web|url =https://www.who.int/healthinfo/bodgbd2002revised/en/index.html|title = 2002 WHO mortality data|access-date = 20 January 2007|url-status = live|archive-url = https://web.archive.org/web/20131023060502/http://www.who.int/healthinfo/bodgbd2002revised/en/index.html|archive-date = 23 October 2013|df = dmy-all}}</ref> ยาปฏิชีวนะถูกใช้เพื่อรักษา[[การติดเชื้อ]]แบคทีเรีย และยังมีการใช้ในภาคเกษตรกรรมอีกด้วย ทำให้[[แบคทีเรียดื้อยา]]เป็นปัญหามากยิ่งขึ้น ในภาคอุตสาหกรรม แบคทีเรียมีความสำคัญต่อ[[การบำบัดน้ำเสีย]]และการย่อยสลายคราบ[[การรั่วไหลของน้ำมัน|น้ำมันรั่วไหล]], การผลิต[[ชีส]]และ[[โยเกิร์ต]]ด้วย[[การหมัก (ชีวเคมี)|การหมัก]], การนำทอง พัลลาเดียม ทองแดง และโลหะอื่น ๆ กลับมาใช้ใหม่ในอุตสาหกรรมเหมืองแร่<ref>{{cite news|title=Metal-Mining Bacteria Are Green Chemists|url=https://www.sciencedaily.com/releases/2010/09/100901191137.htm|newspaper=Science Daily|date=2 September 2010|url-status=live|archive-url=https://web.archive.org/web/20170831041203/https://www.sciencedaily.com/releases/2010/09/100901191137.htm|archive-date=31 August 2017|df=dmy-all}}</ref>และ[[เทคโนโลยีชีวภาพ]], และการผลิตยาปฏิชีวนะกับสารเคมีอื่น ๆ<ref>{{cite journal | vauthors = Ishige T, Honda K, Shimizu S | title = Whole organism biocatalysis | journal = Current Opinion in Chemical Biology | volume = 9 | issue = 2 | pages = 174–80 | date = April 2005 | pmid = 15811802 | doi = 10.1016/j.cbpa.2005.02.001 }}</ref>

ปัจจุบันแบคทีเรียถูกจัดเป็น[[โพรแคริโอต]] จากแต่เดิมที่ถือว่าเป็น[[พืช]]ที่อยู่ในชั้น Schizomycetes (เห็ดราที่แบ่งตัวแบบฟิชชัน) แบคทีเรียไม่มี[[นิวเคลียสของเซลล์|นิวเคลียส]]น้อยนักที่จะพบ[[ออร์แกเนลล์]]ที่มี[[เยื่อหุ้มเซลล์|เยื่อหุ้ม]] ซึ่งแตกต่างจากสัตว์และ[[ยูแคริโอต]]อื่น ๆ แม้เดิมคำว่า ''แบคทีเรีย'' จะหมายถึงโพรแคริโอตทุกชนิด [[การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์]]ก็ได้เปลี่ยนไปนับตั้งแต่การค้นพบในทศวรรษ 1990 ว่าโพรแคริโอตประกอบไปด้วยสองสิ่งมีชีวิตที่แตกต่างกันมาก ซึ่ง[[วิวัฒนาการ|วิวัฒน์]]มาจาก[[Last universal common ancestor|บรรพบุรุษเดียวกัน]] โดยมีชื่อเรียก[[โดเมน (ชีววิทยา)|โดเมน]]ว่า''แบคทีเรีย'' และ''[[อาร์เคีย]]''<ref name="Woese">{{cite journal | vauthors = Woese CR, Kandler O, Wheelis ML | title = Towards a natural system of organisms: proposal for the domains Archaea, Bacteria, and Eucarya | journal = Proceedings of the National Academy of Sciences of the United States of America | volume = 87 | issue = 12 | pages = 4576–79 | date = June 1990 | pmid = 2112744 | pmc = 54159 | doi = 10.1073/pnas.87.12.4576 | bibcode = 1990PNAS...87.4576W }}</ref>


:# Kingdom '''[[อาร์เคีย|Archaea]]''' (แบคทีเรียโบราณ)
:# Kingdom '''Bacteria''' (แบคทีเรีย)
{{Wikispecies|Bacteria}}
{{Wikispecies|Bacteria}}

== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{reflist}}
{{reflist}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:51, 17 พฤษภาคม 2564

Bacteria
ช่วงเวลาที่มีชีวิตอยู่: Archean or earlier – present
Scanning electron micrograph of Escherichia coli rods
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ แก้ไขการจำแนกนี้
โดเมน: แบคทีเรีย
Woese, Kandler & Wheelis, 1990[1]
Phyla
ชื่อพ้อง
Eubacteria Woese & Fox, 1977[3]

แบคทีเรีย หรือ บัคเตรี (อังกฤษ: bacteria/bækˈtɪəriə/ ( ฟังเสียง); เอกพจน์ bacterium) เป็นเซลล์ประเภทหนึ่ง ประกอบด้วยโดเมนขนาดใหญ่ของจุลชีพที่เป็นโพรแคริโอต โดยมากมีความยาวไม่กี่ไมโครเมตร แบคทีเรียมีรูปร่างที่หลากหลาย ตั้งแต่ทรงกลมไปจนถึงแบบแท่งและแบบเกลียว แบคทีเรียเป็นหนึ่งในรูปแบบแรก ๆ ของชีวิตที่ปรากฏขึ้นบนโลก และพบได้ในสิ่งแวดล้อมเกือบทุกรูปแบบ แบคทีเรียอาศัยอยู่ในดิน, แหล่งน้ำ, น้ำพุร้อนที่มีความเป็นกรด, ขยะกัมมันตรังสี[4], และชีวมณฑลส่วนลึกของแผ่นเปลือกโลก และยังดำรงความสัมพันธ์แบบอยู่ร่วมกันและแบบปรสิตกับพืชและสัตว์ แบคทีเรียส่วนมากยังไม่ถูกอธิบายคุณลักษณะ และมีเพียงร้อยละ 27 ของไฟลัมแบคทีเรียที่สามารถเติบโตในห้องปฏิบัติการณ์[5] สาขาวิชาที่ศึกษาแบคทีเรียรู้จักกันในชื่อ แบคทีเรียวิทยา (bacteriology) อันเป็นสาขาหนึ่งของจุลชีววิทยา

สัตว์เกือบทุกชนิดล้วนพึ่งพาแบคทีเรียเพื่อการดำรงชีวิต เนื่องจากมีเพียงแบคทีเรียและและอาร์เคียบางชนิดมีเอนไซม์ที่จำเป็นสำหรับการสร้างวิตามินบี 12 (โคบาลามิน) และส่งผ่านวิตามินนี้ทางห่วงโซ่อาหาร วิตามินบี 12 เป็นวิตามินสามารถละลายในน้ำได้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับกระบวนการเมแทบอลิซึมของทุกเซลล์ในร่างกายมนุษย์ เป็นโคแฟกเตอร์ในกระบวนการสังเคราะห์ดีเอ็นเอ และกระบวนการเมแทบอลิซึมของกรดไขมันและกรดอะมิโน มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการทำงานตามปกติของระบบประสาท ผ่านบทบาทในการสังเคราะห์ไมอีลิน[6][7][8][9] ปกติมีแบคทีเรียประมาณ 40 ล้านเซลล์ในดินหนึ่งกรัม และประมาณหนึ่งล้านเซลล์ในน้ำจืดหนึ่งมิลลิลิตร ประมาณกันว่ามีแบคทีเรียประมาณ 5×1030 ตัวบนโลก[10] ทำให้เกิดมวลชีวภาพที่เป็นรองเพียงแต่พืชเท่านั้น[11] แบคทีเรียมีความจำเป็นสำหรับหลายขั้นในวัฏจักรของสารอาหาร ด้วยการนำสารอาหารกลับมาใช้ใหม่ ดังเช่นการตรึงไนโตรเจนจากชั้นบรรยากาศ วัฏจักรสารอาหารยังรวมถึงกระบวนการเน่าเปื่อย (decomposition) ของซากสิ่งมีชีวิต ซึ่งแบคทีเรียมีส่วนเกี่ยวข้องในขั้นตอนการเน่าสลาย (putrefaction) ของกระบวนการดังกล่าว[12] ในกลุ่มสังคมทางชีววิทยาโดยรอบปล่องน้ำร้อนและปล่องน้ำเย็นใต้ทะเล แบคทีเรียอิกซ์ตรีโมไฟล์ (extremophile) เป็นผู้ให้สารอาหารที่จำเป็นสำหรับการดำรงชีวิตด้วยการเปลี่ยนรูปสารประกอบที่ละลายอยู่ในน้ำ (เช่นไฮโดรเจนซัลไฟด์และมีเทน) ให้เป็นพลังงาน

ในมนุษย์และสัตว์ส่วนมากมีแบคทีเรียอาศัยอยู่ในท่อทางเดินอาหารและผิวหนังเป็นจำนวนมาก[13] แบคทีเรียส่วนใหญ่ที่อยู่ในร่างกายถูกทำให้ไร้พิษภัยโดยผลของระบบภูมิคุ้มกัน บางชนิดให้ประโยชน์ต่อร่างกาย โดยเฉพาะที่อยู่ในทางเดินอาหาร อย่างไรก็ตาม มีแบคทีเรียบางสปีชีส์เป็นเชื้อที่ก่อโรคติดเชื้อ อาทิ อหิวาตกโรค ซิฟิลิส แอนแทรกซ์ โรคเรื้อน กาฬโรคต่อมน้ำเหลือง โรคอันตรายถึงที่เกิดจากแบคทีเรียที่พบได้บ่อยคือ โรคติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจ วัณโรคเพียงอย่างเดียวคร่าชีวิตประมาณ 2 ล้านคนในแต่ละปี ส่วนใหญมาจากแอฟริกาใต้สะฮารา[14] ยาปฏิชีวนะถูกใช้เพื่อรักษาการติดเชื้อแบคทีเรีย และยังมีการใช้ในภาคเกษตรกรรมอีกด้วย ทำให้แบคทีเรียดื้อยาเป็นปัญหามากยิ่งขึ้น ในภาคอุตสาหกรรม แบคทีเรียมีความสำคัญต่อการบำบัดน้ำเสียและการย่อยสลายคราบน้ำมันรั่วไหล, การผลิตชีสและโยเกิร์ตด้วยการหมัก, การนำทอง พัลลาเดียม ทองแดง และโลหะอื่น ๆ กลับมาใช้ใหม่ในอุตสาหกรรมเหมืองแร่[15]และเทคโนโลยีชีวภาพ, และการผลิตยาปฏิชีวนะกับสารเคมีอื่น ๆ[16]

ปัจจุบันแบคทีเรียถูกจัดเป็นโพรแคริโอต จากแต่เดิมที่ถือว่าเป็นพืชที่อยู่ในชั้น Schizomycetes (เห็ดราที่แบ่งตัวแบบฟิชชัน) แบคทีเรียไม่มีนิวเคลียสน้อยนักที่จะพบออร์แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้ม ซึ่งแตกต่างจากสัตว์และยูแคริโอตอื่น ๆ แม้เดิมคำว่า แบคทีเรีย จะหมายถึงโพรแคริโอตทุกชนิด การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ก็ได้เปลี่ยนไปนับตั้งแต่การค้นพบในทศวรรษ 1990 ว่าโพรแคริโอตประกอบไปด้วยสองสิ่งมีชีวิตที่แตกต่างกันมาก ซึ่งวิวัฒน์มาจากบรรพบุรุษเดียวกัน โดยมีชื่อเรียกโดเมนว่าแบคทีเรีย และอาร์เคีย[1]

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 Woese CR, Kandler O, Wheelis ML (June 1990). "Towards a natural system of organisms: proposal for the domains Archaea, Bacteria, and Eucarya". Proceedings of the National Academy of Sciences of the United States of America. 87 (12): 4576–79. Bibcode:1990PNAS...87.4576W. doi:10.1073/pnas.87.12.4576. PMC 54159. PMID 2112744.
  2. Pavan ME, และคณะ (May 2018). "Proposal for a new classification of a deep branching bacterial phylogenetic lineage: transfer of Coprothermobacter proteolyticus and Coprothermobacter platensis to Coprothermobacteraceae fam. nov., within Coprothermobacterales ord. nov., Coprothermobacteria classis nov. and Coprothermobacterota phyl. nov. and emended description of the family Thermodesulfobiaceae". Int. J. Syst. Evol. Microbiol. 68 (5): 1627–32. doi:10.1099/ijsem.0.002720. PMID 29595416. S2CID 4470260.
  3. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Woese1977
  4. Fredrickson JK, Zachara JM, Balkwill DL, Kennedy D, Li SM, Kostandarithes HM, Daly MJ, Romine MF, Brockman FJ (July 2004). "Geomicrobiology of high-level nuclear waste-contaminated vadose sediments at the Hanford site, Washington state". Applied and Environmental Microbiology. 70 (7): 4230–41. doi:10.1128/AEM.70.7.4230-4241.2004. PMC 444790. PMID 15240306.
  5. Dudek NK, Sun CL, Burstein D (2017). "Novel Microbial Diversity and Functional Potential in the Marine Mammal Oral Microbiome" (PDF). Current Biology. 27 (24): 3752–3762. doi:10.1016/j.cub.2017.10.040. PMID 29153320. S2CID 43864355.
  6. Fang H, Kang J, Zhang D (January 2017). "12: a review and future perspectives". Microbial Cell Factories. 16 (1): 15. doi:10.1186/s12934-017-0631-y. PMC 5282855. PMID 28137297.
  7. Moore SJ, Warren MJ (June 2012). "The anaerobic biosynthesis of vitamin B12". Biochemical Society Transactions. 40 (3): 581–6. doi:10.1042/BST20120066. PMID 22616870.
  8. Graham RM, Deery E, Warren MJ (2009). "18: Vitamin B12: Biosynthesis of the Corrin Ring". ใน Warren MJ, Smith AG (บ.ก.). Tetrapyrroles Birth, Life and Death. New York, NY: Springer-Verlag. p. 286. doi:10.1007/978-0-387-78518-9_18. ISBN 978-0-387-78518-9.
  9. Miller A, Korem M, Almog R, Galboiz Y (June 2005). "Vitamin B12, demyelination, remyelination and repair in multiple sclerosis". Journal of the Neurological Sciences. 233 (1–2): 93–7. doi:10.1016/j.jns.2005.03.009. PMID 15896807. S2CID 6269094.
  10. Whitman WB, Coleman DC, Wiebe WJ (June 1998). "Prokaryotes: the unseen majority". Proceedings of the National Academy of Sciences of the United States of America. 95 (12): 6578–83. Bibcode:1998PNAS...95.6578W. doi:10.1073/pnas.95.12.6578. PMC 33863. PMID 9618454.
  11. Bar-On YM, Phillips R, Milo R (June 2018). "The biomass distribution on Earth" (PDF). Proceedings of the National Academy of Sciences of the United States of America. 115 (25): 6506–6511. doi:10.1073/pnas.1711842115. PMC 6016768. PMID 29784790.
  12. Forbes SL (2008). "Decomposition Chemistry in a Burial Environment". ใน Tibbett M, Carter DO (บ.ก.). Soil Analysis in Forensic Taphonomy. CRC Press. pp. 203–223. ISBN 978-1-4200-6991-4.
  13. Sears CL (October 2005). "A dynamic partnership: celebrating our gut flora". Anaerobe. 11 (5): 247–51. doi:10.1016/j.anaerobe.2005.05.001. PMID 16701579.
  14. "2002 WHO mortality data". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 ตุลาคม 2013. สืบค้นเมื่อ 20 มกราคม 2007.
  15. "Metal-Mining Bacteria Are Green Chemists". Science Daily. 2 กันยายน 2010. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 31 สิงหาคม 2017.
  16. Ishige T, Honda K, Shimizu S (April 2005). "Whole organism biocatalysis". Current Opinion in Chemical Biology. 9 (2): 174–80. doi:10.1016/j.cbpa.2005.02.001. PMID 15811802.