ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การฆ่าตัวตาย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ ‘สัญชาติญาณ’ ด้วย ‘สัญชาตญาณ’
Dolkungbighead (คุย | ส่วนร่วม)
แปลใหม่ ใส่อ้างอิง
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{รออ้างอิง}}
{{นิติเวชศาสตร์}}
{{นิติเวชศาสตร์}}


'''การฆ่าตัวตาย''' เป็นการกระทำให้ตนเองถึงแก่ความตายอย่างตั้งใจ การฆ่าตัวตายมักเกิดจากความสิ้นหวัง ซึ่งเกิดจากอาการจากจิต เช่น [[โรคซึมเศร้า]] โรคอารมณ์สองขั้ว [[โรคจิตเภท]] [[ความผิดปกติทางบุคลิกภาพแบบก้ำกึ่ง]]<ref>{{cite journal|last=Paris|first=J|title=Chronic suicidality among patients with borderline personality disorder|journal=Psychiatric services (Washington, D.C.)|date=June 2002|volume=53|issue=6|pages=738–42|pmid=12045312|doi=10.1176/appi.ps.53.6.738}}</ref> [[โรคพิษสุรา]] หรือการใช้ยาเสพติด<ref name=Hawton2009>{{cite journal |author=Hawton K, van Heeringen K |title=Suicide |journal=Lancet |volume=373 |issue=9672 |pages=1372–81 |date=April 2009 |pmid=19376453 |doi= 10.1016/S0140-6736(09)60372-X}}</ref> ปัจจัยที่ทำให้เกิดความเครียดเช่นความลำบากทางการเงิน หรือปัญหากับความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลก็มีส่วนเช่นกัน ความพยายามป้องกันการฆ่าตัวตายหมายรวมถึงการจำกัดการฆ่าตัวตายด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น อาวุธปืน และสารพิษ การรักษาอาการทางจิตและการใช้ยาเสพติด และการปรับปรุงสถานะทางการเงิน แม้ว่าบริการที่ปรึกษาสายตรงจะมีทั่วไป แต่แทบไม่มีหลักฐานว่าวิธีนี้จะมีประสิทธิภาพ<ref name=Sak2011/>
'''การฆ่าตัวตาย''' คือการกระทำที่ทำให้ตนเอง[[เสียชีวิต]]โดยเจตนา สำหรับมนุษย์อาจเกิดมาจากภาวะความเสียใจอย่างมาก เช่นสูญเสียคนรัก หรือภาวะความเครียดที่ไม่สามารถหาทางออกได้ จึงคิดสั้นโดยการฆ่าตัวตายเพื่อหนีปัญหา การฆ่าตัวตายของมนุษย์ถือเป็นปัญหาสังคม


วิธีการฆ่าตัวตายที่พบได้บ่อยที่สุดแตกต่างกันไปตามประเทศและส่วนหนึ่งจะขึ้นกับความเป็นไปได้ วิธีการทั่วไปได้แก่ การแขวนคอ การวางยาพิษจากยาฆ่าแมลง และอาวุธปืน การฆ่าตัวตายคร่าชีวิตคน 842,000 คนใน ค.ศ. 2013 ขึ้นจาก 712,000 คนใน ค.ศ. 1990<ref name=GDB2013>{{cite journal|last1=GBD 2013 Mortality and Causes of Death|first1=Collaborators|title=Global, regional, and national age-sex specific all-cause and cause-specific mortality for 240 causes of death, 1990-2013: a systematic analysis for the Global Burden of Disease Study 2013.|journal=Lancet|date=17 December 2014|pmid=25530442|doi=10.1016/S0140-6736(14)61682-2|volume=385|pages=117–71}}</ref> ทำให้เป็นสาเหตุการตายอันดับที่ 10 ทั่วโลก<ref name=Hawton2009/><ref name=Var2012/> อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จพบในผู้ชายมากกว่าผู้หญิง.<ref>{{cite book|last=Meier|first=Marshall B. Clinard, Robert F.|title=Sociology of deviant behavior|year=2008|publisher=Wadsworth Cengage Learning|location=Belmont, CA|isbn=978-0-495-81167-1|page=169|url=http://books.google.co.uk/books?id=VB3OezIoI44C&pg=PA169|edition=14th}}</ref> โดยผู้ชายมีแนวโน้มฆ่าตัวตายมากกว่าผู้หญิง 3-4 เท่า มีการฆ่าตัวตายที่ไม่ถึงแก่ชีวิตประมาณ 10-20 ล้านครั้งทุกปี<ref>{{cite journal|author=Bertolote JM, Fleischmann A |title=Suicide and psychiatric diagnosis: a worldwide perspective |journal=World Psychiatry|volume=1 |issue=3 |pages=181–5 |date=October 2002 |pmid=16946849 |pmc=1489848 }}</ref> ความพยายามฆ่าตัวตายที่ไม่ถึงแก่ชีวิตมักก่อให้เกิดการบาดเจ็บ และความพิการระยะยาว ความพยายามดังกล่าวนี้มักพบในคนหนุ่มสาวและผู้หญิง
จากประวัติศาสตร์ในอดีต การฆ่าตัวตายเป็นค่านิยมที่ได้รับการยอมรับมาก่อน เช่น ในสมัยซามูไรของญี่ปุ่น การรักษาศักดิ์ศรีด้วยการฆ่าตัวตาย (เช่น การทำ[[เซ็ปปุกุ]]) ถือว่าดีกว่าอยู่อย่างไร้ค่า ในภาวะ[[สงครามโลกครั้งที่ 2]] กองทัพญี่ปุ่นได้ใช้กลยุทธ์ [[คะมิกะเซะ]] โดยใช้เครื่องบินบรรทุกระเบิดพุ่งเข้าชนเรือรบแบบฆ่าตัวตาย เป็นกลยุทธ์หนึ่งของสงครามมาแล้ว นอกจากนี้ในบางครั้งกลุ่ม[[การก่อการร้าย|ก่อการร้าย]]ก็จงใจใช้การโจมตีแบบพลีชีพหรือฆ่าตัวตายในรูปแบบต่าง ๆ เช่นกัน เช่น ระเบิดพลีชีพ หรือการขับ[[ยานพาหนะ]]พุ่งชนเป้าหมายแบบฆ่าตัวตาย เป็นต้น


== อ้างอิง ==
นอกจากมนุษย์แล้วนักชีววิทยาพยายามศึกษาพฤติกรรมการฆ่าตัวตายในสัตว์ ในบางกรณีสุนัขหรือแมวที่เลี้ยงไว้ มักมีความรู้สึกที่ผูกพันอย่างมาก เมื่อเจ้าของเสียชีวิตไป มันก็ปฏิเสธที่จะกินอาหาร แล้วหิวตายตามเจ้านายมันไป ยังมีกรณีของสุนัขที่เติบโตมาด้วยกัน เจ้าของเลี้ยงเลี้ยงสุนัข 2 สายพันธุ์ไว้ด้วยกัน มันเติบโตและวิ่งเล่นมาด้วยกันตลอด วันหนึ่งสุนัขตัวหนึ่งตายลงอย่างกะทันหันเนื่องจากถูกรถชน เจ้าของจึงฝังไว้ที่สวน สุนัขอีกตัวที่เหลือก็เปลี่ยนพฤติกรรมทันที จากที่เคยร่าเริงมันกลับปฏิเสธอาหาร และคอยเฝ้าอยู่บริเวณที่เจ้านาย ฝังสุนัขอีกตัวไว้ พอตกกลางคืนก็จะหอนตลอดเวลา ไม่กี่วันต่อมาสุนัขอีกตัวก็ตายลง
{{รายการอ้างอิง}}

แต่นักวิทยาศาสตร์ยังไม่ปักใจเชื่อนัก เพราะสัญชาตญาณการเอาตัวรอดของสิ่งมีชีวิตตามธรรมชาติ เป็นสิ่งที่ทำให้สัตว์อยู่รอดมาได้ในโลก และสัตว์ป่าเป็นสิ่งมีชีวิตที่ต้องดิ้นรน เพื่อเอาตัวรอดอยู่ทุกวันอยู่แล้ว แต่ในกรณีของสัตว์เลี้ยงที่ไม่มีภัยคุกคามชีวิตด้านอื่น และกินดีอยู่ดีทุกวัน อาจพัฒนาความรู้สึกให้มีระดับที่สูงขึ้นจนใกล้เคียงกับมนุษย์ เมื่อเกิดความเสียใจอาจนำไปสู่การฆ่าตัวตายในสัตว์ได้ {{ต้องการอ้างอิงตรงนี้}}

[[ไฟล์:Suicide rates map-en.svg|thumb|left|250px|อัตราการฆ่าตัวตายของประเทศต่าง ๆ]]

{| class="wikitable" align = "left" style="margin-left; margin-right:1em: 0px;"
|+ '''ตัวอย่างประเทศที่มีการฆ่าตัวตาย (ใช้อัตรา ต่อ 100,000 คนต่อปี) '''
|-
! ประเทศ || ปี || ผู้ชาย || ผู้หญิง
|-
| {{LTU}} || 2005 || 68.1 || 12.9
|-
| {{BLR}} || 2003 || 63.3 || 10.3
|-
| {{RUS}} || 2004 || 61.6 || 10.7
|-
| {{KAZ}} || 2003 || 51.0 || 8.9
|-
| {{SVN}} || 2003 || 45.0 || 12.0
|-
| {{HUN}} || 2003 || 44.9 || 12.0
|-
| {{LVA}} || 2004 || 42.9 || 8.5
|-
| {{JPN}} || 2004 || 35.6 || 12.8
|-
| {{UKR}} || 2004 || 43.0 || 7.3
|-
|}
<br clear="all">


== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:54, 1 พฤษภาคม 2558

การฆ่าตัวตาย เป็นการกระทำให้ตนเองถึงแก่ความตายอย่างตั้งใจ การฆ่าตัวตายมักเกิดจากความสิ้นหวัง ซึ่งเกิดจากอาการจากจิต เช่น โรคซึมเศร้า โรคอารมณ์สองขั้ว โรคจิตเภท ความผิดปกติทางบุคลิกภาพแบบก้ำกึ่ง[1] โรคพิษสุรา หรือการใช้ยาเสพติด[2] ปัจจัยที่ทำให้เกิดความเครียดเช่นความลำบากทางการเงิน หรือปัญหากับความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลก็มีส่วนเช่นกัน ความพยายามป้องกันการฆ่าตัวตายหมายรวมถึงการจำกัดการฆ่าตัวตายด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น อาวุธปืน และสารพิษ การรักษาอาการทางจิตและการใช้ยาเสพติด และการปรับปรุงสถานะทางการเงิน แม้ว่าบริการที่ปรึกษาสายตรงจะมีทั่วไป แต่แทบไม่มีหลักฐานว่าวิธีนี้จะมีประสิทธิภาพ[3]

วิธีการฆ่าตัวตายที่พบได้บ่อยที่สุดแตกต่างกันไปตามประเทศและส่วนหนึ่งจะขึ้นกับความเป็นไปได้ วิธีการทั่วไปได้แก่ การแขวนคอ การวางยาพิษจากยาฆ่าแมลง และอาวุธปืน การฆ่าตัวตายคร่าชีวิตคน 842,000 คนใน ค.ศ. 2013 ขึ้นจาก 712,000 คนใน ค.ศ. 1990[4] ทำให้เป็นสาเหตุการตายอันดับที่ 10 ทั่วโลก[2][5] อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จพบในผู้ชายมากกว่าผู้หญิง.[6] โดยผู้ชายมีแนวโน้มฆ่าตัวตายมากกว่าผู้หญิง 3-4 เท่า มีการฆ่าตัวตายที่ไม่ถึงแก่ชีวิตประมาณ 10-20 ล้านครั้งทุกปี[7] ความพยายามฆ่าตัวตายที่ไม่ถึงแก่ชีวิตมักก่อให้เกิดการบาดเจ็บ และความพิการระยะยาว ความพยายามดังกล่าวนี้มักพบในคนหนุ่มสาวและผู้หญิง

อ้างอิง

  1. Paris, J (June 2002). "Chronic suicidality among patients with borderline personality disorder". Psychiatric services (Washington, D.C.). 53 (6): 738–42. doi:10.1176/appi.ps.53.6.738. PMID 12045312.
  2. 2.0 2.1 Hawton K, van Heeringen K (April 2009). "Suicide". Lancet. 373 (9672): 1372–81. doi:10.1016/S0140-6736(09)60372-X. PMID 19376453.
  3. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Sak2011
  4. GBD 2013 Mortality and Causes of Death, Collaborators (17 December 2014). "Global, regional, and national age-sex specific all-cause and cause-specific mortality for 240 causes of death, 1990-2013: a systematic analysis for the Global Burden of Disease Study 2013". Lancet. 385: 117–71. doi:10.1016/S0140-6736(14)61682-2. PMID 25530442. {{cite journal}}: |first1= มีชื่อเรียกทั่วไป (help)
  5. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Var2012
  6. Meier, Marshall B. Clinard, Robert F. (2008). Sociology of deviant behavior (14th ed.). Belmont, CA: Wadsworth Cengage Learning. p. 169. ISBN 978-0-495-81167-1.
  7. Bertolote JM, Fleischmann A (October 2002). "Suicide and psychiatric diagnosis: a worldwide perspective". World Psychiatry. 1 (3): 181–5. PMC 1489848. PMID 16946849.

ดูเพิ่ม