ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เหยี่ยวดำ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8.1
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{Speciesbox
{{Taxobox
| name =
| name = เหยี่ยวดำ
| status = LC
| status = LC
| status_system = IUCN3.1
| status_system = IUCN3.1
| status_ref = <ref name="iucn status 13 November 2021">{{cite iucn |author=BirdLife International |date=2020 |title=''Milvus migrans'' |volume=2020 |page=e.T181568721A181571544 |doi=10.2305/IUCN.UK.2020-3.RLTS.T181568721A181571544.en |access-date=13 November 2021}}</ref>
| status_ref = <ref>[http://www.iucnredlist.org/apps/redlist/details/160032423/0 จาก [[IUCN]] {{en}}]</ref>
| image = Milvus migrans -Kathmandu, Nepal-444.jpg
| image = Schwarzmilan.jpg
| image_caption = ''M. m. affinis'', [[ประเทศออสเตรเลีย]]
| regnum = [[Animal]]ia
| image2=Tonbi-voice-enoshima-jan11-2016.ogg
| phylum = [[Chordata]]
| image2_caption = เสียงร้อง
| classis = [[Aves]]
| genus = Milvus
| ordo = [[Accipitriformes]]
| species = migrans
| familia = [[Accipitridae]]
| authority = ([[Pieter Boddaert|Boddaert]], 1783)
| genus = ''[[Milvus]]''
| range_map = MilvusMigransIUCNver2018 2.png
| species = '''''M. migrans'''''
| range_map_caption = ขอบเขตของเหยี่ยวดำ {{leftlegend|#00FF00|พื้นที่สืบพันธุ์|outline=gray}} {{leftlegend|#008000|อาศัย|outline=gray}} {{leftlegend|#007FFF|ไม่ใช่พื้นที่สืบพันธุ์|outline=gray}} {{leftlegend|#00FFFF|ทางผ่าน|outline=gray}}
| binomial = ''Milvus migrans''
| subdivision_ranks = ชนิดย่อย
| binomial_authority = ([[Pieter Boddaert|Boddaert]], 1783)
| subdivision =
| range_map = Milvus migrans distr.png
5, ดู[[#ชนิดย่อย|ข้อความ]]
| range_map_caption = [[สีดำ]]และ[[เหลือง]]-สถานที่อยู่ประจำ<br/>[[สีส้ม]]-พบเฉพาะใน[[ฤดูร้อน]]<br/>[[สีเขียว]]-พบได้ตลอดทั้งปี<br/>[[สีน้ำเงิน]]-พบเฉพาะใน[[ฤดูหนาว]]
| synonyms =
| subdivision_ranks = [[Subspecies|ชนิดย่อย]]
| subdivision = {{hidden begin|ชนิดย่อย}}
* ''M. m. migrans'' <small> (Boddaert, 1783) (พบในบางส่วนของ[[ยุโรป]], [[ประเทศจีน]], [[ปากีสถาน]] และ[[Sub-Saharan Africa|ซับซาฮาร่า]] ใน[[แอฟริกา]]) </small>
* ''M. m. lineatus'' <small> (J. E. Gray, 1831) (พบใน[[อนุทวีปอินเดีย]], [[เทือกเขาหิมาลัย]], [[อ่าวเปอร์เซีย]], [[อินโดนีเซีย]], ตอนใต้ของจีน และ[[ญี่ปุ่น]] เป็นนกอพยพใน[[ไทย]]) </small>
* ''M. m. govinda'' <small> (Sykes, 1832) (ตะวันออกของปากีสถาน, บางส่วนของอนุทวีปอินเดีย, [[อินโดจีน]] และ[[แหลมมลายู]] เป็นนกประจำถิ่นในไทย) </small>
* ''M. m. affinis'' <small> (Gould, 1838) ([[ซูลาเวซี]], [[ปาปัวนิวกินี]], [[หมู่เกาะซุนดา]], บางส่วนใน[[ออสเตรเลีย]]) </small>
* ''M. m. formosanus'' <small> (Kuroda, 1920) ([[เกาะไต้หวัน]], [[เกาะไหหลำ]]) </small>
{{hidden end}}
| synonyms = {{hidden begin|ชื่อพ้อง}}
* ''Falco migrans'' <small>Boddaert, 1783</small>
* ''Falco migrans'' <small>Boddaert, 1783</small>
* ''Milvus affinis''
* ''Milvus affinis''
* ''Milvus ater''
* ''Milvus ater''
* ''Milvus melanotis''
* ''Milvus melanotis''
{{hidden end}}
}}
}}
[[File:Diều hâu đen.jpg|thumb|เหยี่ยวดำในสวนสัตว์ฮานอย]]
'''เหยี่ยวดำ''' ({{lang-en|Black kite, Pariah kite}}; {{ชื่อวิทยาศาสตร์|Milvus migrans}}) เป็น[[เหยี่ยว]][[สปีชีส์|ชนิด]]หนึ่ง
'''เหยี่ยวดำ''' ({{lang-en|Black kite, Pariah kite}}; {{ชื่อวิทยาศาสตร์|Milvus migrans}}) เป็น[[นกล่าเหยื่อ]]ขนาดกลางในวงศ์ [[Accipitridae]] กล่าวกันว่าเป็นชนิดที่พบได้แพร่หลายที่สุดในโลก แม้ว่าประชากรบางพื้นที่ลดลงอย่างมากหรือขึ้น ๆ ลง ๆ<ref name=RaptorsWorld>{{cite book |last1=Ferguson-Lees |first1=J. |last2=Christie |first2=D. |title=Raptors of the World |year=2001 |publisher=[[Helm Identification Guides|Christopher Helm]] |location=London |isbn=978-0-7136-8026-3}}</ref> ประชากรในปัจจุบันอยู่ที่ประมาณ 6 ล้านตัว<ref name="iucn status 13 November 2021" />


จัดเป็นนกขนาดกลาง ขนาดลำตัวประมาณ 60-66 [[เซนติเมตร]] [[ตัวผู้]]และ[[ตัวเมีย]]มีลักษณะเหมือนกันคือ ลำตัว[[สีน้ำตาล]]เข้มอม[[เหลือง]]ทั้งด้านบนและด้านล่าง ปีกสีน้ำตาลเข้ม หางเป็นแฉกตื้น ๆ มองดูคล้ายง่าม ปากสั้น[[สีดำ]]แหลมคม ปลายปากเป็นขอ หัวค่อนข้างใหญ่ คอสั้น ปีกยาว ส่วนนกที่ยังไม่โตเต็มที่ ลำตัวจะเป็นสีน้ำตาลอ่อน พร้อมกับมีขีดสีเหลืองอ่อนทั่วทั้งตัว
จัดเป็นนกขนาดกลาง ขนาดลำตัวประมาณ 60-66 [[เซนติเมตร]] [[ตัวผู้]]และ[[ตัวเมีย]]มีลักษณะเหมือนกันคือ ลำตัว[[สีน้ำตาล]]เข้มอม[[เหลือง]]ทั้งด้านบนและด้านล่าง ปีกสีน้ำตาลเข้ม หางเป็นแฉกตื้น ๆ มองดูคล้ายง่าม ปากสั้น[[สีดำ]]แหลมคม ปลายปากเป็นขอ หัวค่อนข้างใหญ่ คอสั้น ปีกยาว ส่วนนกที่ยังไม่โตเต็มที่ ลำตัวจะเป็นสีน้ำตาลอ่อน พร้อมกับมีขีดสีเหลืองอ่อนทั่วทั้งตัว
บรรทัด 42: บรรทัด 34:
[[ไฟล์: Milvus migrans MHNT.ZOO.2006.11.86.jpg|thumb|left|ไข่ของเหยี่ยวดำ]]
[[ไฟล์: Milvus migrans MHNT.ZOO.2006.11.86.jpg|thumb|left|ไข่ของเหยี่ยวดำ]]
เป็น[[สัตว์ป่าคุ้มครอง]] ตาม[[พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535]]<ref>{{Cite web |url=http://www.moohin.com/animals/birds-136.shtml |title=เหยี่ยวดำ |access-date=2012-03-02 |archive-date=2012-06-18 |archive-url=https://web.archive.org/web/20120618132242/http://www.moohin.com/animals/birds-136.shtml |url-status=dead }}</ref> <ref>[http://www.lowernorthernbird.com/checklist.php?cat_id=30&c_id=219 เหยี่ยวดำ]</ref> ในการสำรวจในปี พ.ศ. 2559 ในประเทศไทยไม่พบเลย จึงทำให้ไม่ทราบว่าสูญพันธุ์ไปแล้วหรือไม่จากประเทศไทย<ref>หน้า 15, ''รุกป่าชายเลน ทำนกหายากใกล้สูญพันธุ์''. '''ไทยรัฐ'''ปีที่ 68 ฉบับที่ 21643: วันจันทร์ที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2560 แรม 13 ค่ำ เดือน 5 ปีระกา</ref>
เป็น[[สัตว์ป่าคุ้มครอง]] ตาม[[พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535]]<ref>{{Cite web |url=http://www.moohin.com/animals/birds-136.shtml |title=เหยี่ยวดำ |access-date=2012-03-02 |archive-date=2012-06-18 |archive-url=https://web.archive.org/web/20120618132242/http://www.moohin.com/animals/birds-136.shtml |url-status=dead }}</ref> <ref>[http://www.lowernorthernbird.com/checklist.php?cat_id=30&c_id=219 เหยี่ยวดำ]</ref> ในการสำรวจในปี พ.ศ. 2559 ในประเทศไทยไม่พบเลย จึงทำให้ไม่ทราบว่าสูญพันธุ์ไปแล้วหรือไม่จากประเทศไทย<ref>หน้า 15, ''รุกป่าชายเลน ทำนกหายากใกล้สูญพันธุ์''. '''ไทยรัฐ'''ปีที่ 68 ฉบับที่ 21643: วันจันทร์ที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2560 แรม 13 ค่ำ เดือน 5 ปีระกา</ref>

==อนุกรมวิธาน==


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}

==อ่านเพิ่ม==
<!-- Forktail16:147. Micronesica32:257,37:69,39:11. -->
*{{cite journal |last1=Desai |first1=J.H. |first2=A.K. |last2=Malhotra |year=1982 |title=Annual gonadal cycle of Black Kite Milvus migrans govinda |journal=Journal of the Yamashina Institute for Ornithology |volume=14 |pages=143–150 |doi=10.3312/jyio1952.14.143 |issue=2–3|url=https://www.jstage.jst.go.jp/article/jyio1952/14/2-3/14_2-3_143/_pdf |doi-access=free }}
*{{cite journal |last=Hardy |first=J. |year=1985 |title=Black Kite capturing small passerines |journal=Australasian Raptor Association News |volume=6 |page=14}}
*{{cite journal |author=American Ornithologists' Union |author-link=American Ornithologists' Union |year=2000 |title=Forty-second supplement to the American Ornithologists' Union Check-list of North American Birds |journal=[[Auk (journal)|Auk]] |volume=117 |issue=3 |pages=847–858 |doi=10.1642/0004-8038(2000)117[0847:FSSTTA]2.0.CO;2 |doi-access=free }}
*{{cite journal |last=Crochet |first=Pierre-André |year=2005 |title=Recent DNA studies of kites |journal=[[Birding World]] |volume=18 |issue=12 |pages=486–488 }}
* {{cite journal |last=Forsman |first=Dick |year=2003 |title=Identification of Black-eared Kite |journal=[[Birding World]] |volume=16 |issue=4 |pages=156–160 |url=http://www.birdforum.net/attachment.php?attachmentid=430354&d=1361903404}}


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Milvus migrans|''Milvus migrans''}}
{{Commons category|Milvus migrans}}
{{wikispecies-inline|Milvus migrans}}
{{Wikispecies|Milvus migrans}}
* [http://sabap2.adu.org.za/docs/sabap1/126.pdf Black Kite species text in The Atlas of Southern African Birds]
* [https://web.archive.org/web/20141202061552/http://aulaenred.ibercaja.es/wp-content/uploads/104_BlackkiteMmigrans.pdf Ageing and sexing (PDF; 4.9 MB) by Javier Blasco-Zumeta & Gerd-Michael Heinze]
* {{BirdLife|22734972|Milvus migrans}}
* {{Avibase|name=Milvus migrans}}
* {{InternetBirdCollection|black-kite-milvus-migrans}}
* {{VIREO|Black+kite}}
* {{Xeno-canto species|Milvus|migrans|Black kite}}

{{Taxonbar|from=Q80362}}
{{Authority control}}


{{เรียงลำดับ|ดำ}}
{{เรียงลำดับ|ดำ}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:31, 4 ตุลาคม 2566

เหยี่ยวดำ
M. m. affinis, ประเทศออสเตรเลีย
เสียงร้อง
สถานะการอนุรักษ์
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ แก้ไขการจำแนกนี้
โดเมน: ยูแคริโอต
อาณาจักร: สัตว์
ไฟลัม: สัตว์มีแกนสันหลัง
ชั้น: สัตว์ปีก
อันดับ: เหยี่ยว
วงศ์: เหยี่ยวและนกอินทรี
สกุล: Milvus
(Boddaert, 1783)
สปีชีส์: Milvus migrans
ชื่อทวินาม
Milvus migrans
(Boddaert, 1783)
ชนิดย่อย

5, ดูข้อความ

ขอบเขตของเหยี่ยวดำ
  พื้นที่สืบพันธุ์
  อาศัย
  ไม่ใช่พื้นที่สืบพันธุ์
  ทางผ่าน
ชื่อพ้อง
  • Falco migrans Boddaert, 1783
  • Milvus affinis
  • Milvus ater
  • Milvus melanotis
เหยี่ยวดำในสวนสัตว์ฮานอย

เหยี่ยวดำ (อังกฤษ: Black kite, Pariah kite; ชื่อวิทยาศาสตร์: Milvus migrans) เป็นนกล่าเหยื่อขนาดกลางในวงศ์ Accipitridae กล่าวกันว่าเป็นชนิดที่พบได้แพร่หลายที่สุดในโลก แม้ว่าประชากรบางพื้นที่ลดลงอย่างมากหรือขึ้น ๆ ลง ๆ[2] ประชากรในปัจจุบันอยู่ที่ประมาณ 6 ล้านตัว[1]

จัดเป็นนกขนาดกลาง ขนาดลำตัวประมาณ 60-66 เซนติเมตร ตัวผู้และตัวเมียมีลักษณะเหมือนกันคือ ลำตัวสีน้ำตาลเข้มอมเหลืองทั้งด้านบนและด้านล่าง ปีกสีน้ำตาลเข้ม หางเป็นแฉกตื้น ๆ มองดูคล้ายง่าม ปากสั้นสีดำแหลมคม ปลายปากเป็นขอ หัวค่อนข้างใหญ่ คอสั้น ปีกยาว ส่วนนกที่ยังไม่โตเต็มที่ ลำตัวจะเป็นสีน้ำตาลอ่อน พร้อมกับมีขีดสีเหลืองอ่อนทั่วทั้งตัว

พบกระจายพันธุ์อยู่กว้างขวางในหลายพื้นที่ ตั้งแต่ยูเรเชีย, ออสตราเลเชีย และโอเชียเนีย จึงทำให้มีชนิดย่อยหลากหลายถึง 5 ชนิด (ดูในตาราง) และเป็นนกอพยพในหลายพื้นที่ในช่วงฤดูหนาว ในประเทศไทยพบได้ในป่าทางภาคเหนือ, ภาคกลางและภาคใต้

มีพฤติกรรมหากินในเวลากลางวัน ชอบบินอยู่ตามที่โล่งชายป่า ตามริมฝั่งทะเล หรือตามแม่น้ำลำคลองต่าง ๆ เพื่อหาอาหาร เมื่อจับเหยื่อได้ก็มักกินบนพื้นดิน หรืออาจนำไปกินบนต้นไม้ พบอยู่โดดเดี่ยว เป็นคู่หรือเป็นฝูง

เมื่อถึงฤดูผสมพันธุ์ เหยี่ยวดำจะทำรังรวมกันเป็นกลุ่มบนต้นไม้สูง ทั้งตัวผู้และตัวเมียจะช่วยกันสร้างรังด้วยกิ่งไม้เล็ก ๆ นำมาขัดสานกัน จากนั้นทั้งคู่จะช่วยกันกกไข่และเลี้ยงลูกอ่อน นกจะใช้เวลากกไข่นานประมาณ 29-32 วัน ออกไข่ครั้งละ 2-4 ฟอง ปกติ 3 ฟอง

ไข่ของเหยี่ยวดำ

เป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535[3] [4] ในการสำรวจในปี พ.ศ. 2559 ในประเทศไทยไม่พบเลย จึงทำให้ไม่ทราบว่าสูญพันธุ์ไปแล้วหรือไม่จากประเทศไทย[5]

อนุกรมวิธาน

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 BirdLife International (2020). "Milvus migrans". IUCN Red List of Threatened Species. 2020: e.T181568721A181571544. doi:10.2305/IUCN.UK.2020-3.RLTS.T181568721A181571544.en. สืบค้นเมื่อ 13 November 2021.
  2. Ferguson-Lees, J.; Christie, D. (2001). Raptors of the World. London: Christopher Helm. ISBN 978-0-7136-8026-3.
  3. "เหยี่ยวดำ". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-06-18. สืบค้นเมื่อ 2012-03-02.
  4. เหยี่ยวดำ
  5. หน้า 15, รุกป่าชายเลน ทำนกหายากใกล้สูญพันธุ์. ไทยรัฐปีที่ 68 ฉบับที่ 21643: วันจันทร์ที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2560 แรม 13 ค่ำ เดือน 5 ปีระกา

อ่านเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น