ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กล่องเสียงอักเสบอุดกั้น"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MuanN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
แก้ไขลิงก์เสียและปรับปรุงอ้างอิง
 
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูลโรค(ใหม่)
{{Infobox medical condition (new)
| name = ครุป
| name = ครุป
| synonyms = กล่องเสียงและท่อลมอักเสบ (laryngotracheitis), กล่องเสียงอักเสบระดับใต้สายเสียง(subglottic laryngitis), กล่องเสียงอักเสบอุดกั้น (obstructive laryngitis), กล่องเสียงท่อลมและหลอดลมอักเสบ (laryngotracheobronchitis)
| synonyms = กล่องเสียงและท่อลมอักเสบ (laryngotracheitis), กล่องเสียงอักเสบระดับใต้สายเสียง(subglottic laryngitis), กล่องเสียงอักเสบอุดกั้น (obstructive laryngitis), กล่องเสียงท่อลมและหลอดลมอักเสบ (laryngotracheobronchitis)
| pronounce =
| pronounce =
| image = Croup steeple sign.jpg
| image = Croup steeple sign.jpg
| caption = ลักษณะตีบแคบบริเวณฝาปิดกล่องเสียง ([[steeple sign]]) ในภาพถ่ายรังสีบริเวณคอในท่าตรงของผู้ป่วยเด็กที่มีอาการกล่องเสียงอักเสบอุดกั้น
| caption = The [[steeple sign]] as seen on an AP neck X-ray of a child with croup
| field = [[กุมารเวชศาสตร์]]
| field = [[กุมารเวชศาสตร์]]
| symptoms = ไอเสียงก้อง, [[Stridor|หายใจเสียงดัง]], มีไข้, คัดจมูก<ref name=Au10/>
| symptoms = ไอเสียงก้อง, [[Stridor|หายใจเสียงดัง]], มีไข้, คัดจมูก<ref name=Au10 />
| complications =
| complications =
| duration = ส่วนใหญ่หายใน 1-2 วัน, บางรายอาจเป็นนานถึง 7 วัน<ref name=Croup09/>
| duration = ส่วนใหญ่หายใน 1–2 วัน, บางรายอาจเป็นนานถึง 7 วัน<ref name=Croup09 />
| causes = ส่วนใหญ่เกิดจากการติดเชื้อไวรัส<ref name=Au10/>
| causes = ส่วนใหญ่เกิดจากการติดเชื้อไวรัส<ref name=Au10 />
| diagnosis = วินิจฉัยจากอาการ<ref name=PedN09/>
| diagnosis = วินิจฉัยจากอาการ<ref name=PedN09 />
| differential = [[Epiglottitis|ฝาปิดกล่องเสียงอักเสบ]], [[foreign body|สิ่งแปลกปลอม]]ในทางหายใจ, [[bacterial tracheitis|ท่อลมอักเสบจากแบคทีเรีย]]<ref name=PedN09/><ref name=Cherry08/>
| differential = [[Epiglottitis|ฝาปิดกล่องเสียงอักเสบ]], [[foreign body|สิ่งแปลกปลอม]]ในทางหายใจ, [[bacterial tracheitis|ท่อลมอักเสบจากแบคทีเรีย]]<ref name=PedN09 /><ref name=Cherry08 />
| prevention = [[influenza vaccine|Influenza]] and [[diphtheria vaccine|diphtheria]] vaccination<ref name=Cherry08/>
| prevention = การให้วัคซีน[[influenza vaccine|ไข้หวัดใหญ่]] และวัคซีน[[diphtheria vaccine|ป้องกันโรคคอตีบ]]<ref name=Cherry08 />
| medication = [[corticosteroids|Steroids]], [[epinephrine]]<ref name=PedN09/><ref name=Cherry08/>
| medication = [[corticosteroids|สเตอรอยด์]], [[epinephrine|เอพิเนฟรีน]]<ref name=PedN09/><ref name=Cherry08 />
| frequency = 15% of children at some point<ref name=PedN09/><ref name=Cherry08/>
| frequency = ร้อยละ 15 ของเด็กในบางช่วง<ref name=PedN09 /><ref name=Cherry08 />
| deaths = Rare<ref name=Au10/>
| deaths = พบน้อย<ref name=Au10 />
}}
}}
'''ครุป'''<ref>[[บัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง]] บทที่ 10 (J05) [http://www.thcc.or.th/ebookthai/swf/chapter18.swf]{{ลิงก์เสีย|date=กันยายน 2021 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}</ref> หรือ '''กล่องเสียงอักเสบอุดกั้น''' ({{lang-en|croup, acute obstructive laryngitis}}) เป็น[[การติดเชื้อในระบบหายใจ]]อย่างหนึ่งที่มักเกิดจาก[[ไวรัส]]<ref name=Au10/> ภาวะนี้จะทำให้[[ท่อลม (อวัยวะ)|ท่อลม]]บวม ขัดขวางการหายใจ และทำให้เกิดอาการสำคัญได้แก่ [[การไอ]]เสียงก้องคล้ายเสียงสุนัขเห่า การมี[[stridor|เสียงฮี้ด]] (stridor) ขณะหายใจ และ[[เสียงแหบ]]<ref name=Au10/> ผู้ป่วยบางรายอาจมีอาการ[[ไข้]]และ[[น้ำมูกไหล]]ร่วมด้วย<ref name=Au10>{{cite journal |vauthors=Rajapaksa S, Starr M | title = Croup – assessment and management | journal = Aust Fam Physician | volume = 39 | issue = 5 | pages = 280–2 |date=May 2010 | pmid = 20485713 | doi = }}</ref> อาการของโรคมีทั้งเป็นเล็กน้อย ปานกลาง และรุนแรง<ref name=Croup09>{{cite journal | author = Johnson D | title = Croup | journal = Clin Evid (Online) | volume = 2009 | issue = | pages = | year = 2009 | pmid = 19445760 | pmc = 2907784 | doi = }}</ref> มักเริ่มเป็นหรือเป็นมากเวลากลางคืน<ref name=Au10/><ref name=Croup09/> ระยะเวลาของการเจ็บป่วยรวมแล้วประมาณ 1-2 วัน<ref name=Thom2013>{{cite journal|last=Thompson|first=M|author2=Vodicka, TA |author3=Blair, PS |author4=Buckley, DI |author5=Heneghan, C |author6=Hay, AD |author7= TARGET Programme, Team |title=Duration of symptoms of respiratory tract infections in children: systematic review.|journal=BMJ (Clinical research ed.)|date=Dec 11, 2013|volume=347|pages=f7027|pmid=24335668|doi=10.1136/bmj.f7027 |pmc=3898587}}</ref>
'''ครุป'''<ref>{{Cite book |url=http://110.164.65.20/moodle5/file.php/1/ICD-Book/ICD-10-TM%202009_AllOK.pdf |title=J05 กล่องเสียงอักเสบอุดกั้นเฉียบพลัน [ครุป] และฝากล่องเสียงอักเสบ |work=บัญชีจำแนกโรคระหว่างประเทศฉบับประเทศไทย (อังกฤษ-ไทย) เล่ม 1 ตารางการจัดกลุ่มโรค |date=2009 |page=373 |publisher=สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข |isbn=978-616-11-0337-8}}</ref> หรือ '''กล่องเสียงอักเสบอุดกั้น''' ({{lang-en|croup, acute obstructive laryngitis}}) เป็น[[การติดเชื้อในระบบหายใจ]]อย่างหนึ่งที่มักเกิดจาก[[ไวรัส]]<ref name=Au10 /> ภาวะนี้จะทำให้[[ท่อลม (อวัยวะ)|ท่อลม]]บวม ขัดขวางการหายใจ และทำให้เกิดอาการสำคัญได้แก่ [[การไอ]]เสียงก้องคล้ายเสียงสุนัขเห่า การมี[[stridor|เสียงฮี้ด]] (stridor) ขณะหายใจ และ[[เสียงแหบ]]<ref name=Au10 /> ผู้ป่วยบางรายอาจมีอาการ[[ไข้]]และ[[น้ำมูกไหล]]ร่วมด้วย<ref name=Au10>{{cite journal |vauthors=Rajapaksa S, Starr M | title = Croup – assessment and management | journal = Aust Fam Physician | volume = 39 | issue = 5 | pages = 280{{Hyphen}}2 |date=May 2010 | pmid = 20485713 | doi = }}</ref> อาการของโรคมีทั้งเป็นเล็กน้อย ปานกลาง และรุนแรง<ref name=Croup09>{{Cite journal | author = Johnson D | title = Croup | journal = Clin Evid (Online) | volume = 2009 | issue = | pages = | year = 2009 | pmid = 19445760 | pmc = 2907784 | doi = }}</ref> มักเริ่มเป็นหรือเป็นมากเวลากลางคืน<ref name=Au10 /><ref name=Croup09 /> ระยะเวลาของการเจ็บป่วยรวมแล้วประมาณ 1–2 วัน<ref name=Thom2013>{{Cite journal |last=Thompson |first=M |author2=Vodicka, TA |author3=Blair, PS |author4=Buckley, DI |author5=Heneghan, C |author6=Hay, AD |author7= TARGET Programme Team |title=Duration of symptoms of respiratory tract infections in children: systematic review. |journal=BMJ (Clinical research ed.) |date=11 December 2013 |volume=347 |pages=f7027 |pmid=24335668 |doi=10.1136/bmj.f7027 |pmc=3898587 |df=dmy-all}}</ref>


[[ไวรัส]]ที่เป็นสาเหตุของครุปมีหลายอย่าง ที่พบบ่อยได้แก่เชื้อ[[ไวรัสพาราอินฟลูเอนซา]] และ[[ไวรัสอินฟลูเอนซา]] (หรือเชื้อไข้หวัดใหญ่)<ref name=Au10/> [[แบคทีเรีย]]ก็ทำให้เกิดโรคนี้ได้แต่พบได้น้อยกว่า<ref name=Cherry08>{{cite journal | author = Cherry JD | title = Clinical practice. Croup | journal = N. Engl. J. Med. | volume = 358 | issue = 4 | pages = 384–91 | year = 2008 | pmid = 18216359 | doi = 10.1056/NEJMcp072022 }}</ref> การวินิจฉัยส่วนใหญ่ทำโดยอาศัยประวัติและผลการตรวจร่างกาย ก่อนวินิจฉัยจำเป็นต้องวินิจฉัยแยกเอาโรคอื่นที่อันตรายกว่า เช่น [[ฝาปิดกล่องเสียงอักเสบ]] หรือ[[สิ่งแปลกปลอมอุดกั้นทางเดินหายใจ]] ออกไปให้ได้ก่อน<ref name=PedN09/> การตรวจทางห้องปฏิบัติการต่างๆ เช่น [[การตรวจเลือด]] [[การถ่ายภาพรังสี]] หรือ[[การเพาะเชื้อ]] ส่วนใหญ่ไม่มีความจำเป็นนัก<ref name=PedN09>{{cite journal | author = Everard ML | title = Acute bronchiolitis and croup | journal = Pediatr. Clin. North Am. | volume = 56 | issue = 1 | pages = 119–33, x–xi |date=February 2009 | pmid = 19135584 | doi = 10.1016/j.pcl.2008.10.007 }}</ref>
[[ไวรัส]]ที่เป็นสาเหตุของครุปมีหลายอย่าง ที่พบบ่อยได้แก่เชื้อ[[ไวรัสพาราอินฟลูเอนซา]] และ[[ไวรัสอินฟลูเอนซา]] (หรือเชื้อไข้หวัดใหญ่)<ref name=Au10 /> [[แบคทีเรีย]]ก็ทำให้เกิดโรคนี้ได้แต่พบได้น้อยกว่า<ref name=Cherry08>{{cite journal | author = Cherry JD | title = Clinical practice. Croup | journal = N. Engl. J. Med. | volume = 358 | issue = 4 | pages = 384–91 | year = 2008 | pmid = 18216359 | doi = 10.1056/NEJMcp072022 }}</ref> การวินิจฉัยส่วนใหญ่ทำโดยอาศัยประวัติและผลการตรวจร่างกาย ก่อนวินิจฉัยจำเป็นต้องวินิจฉัยแยกเอาโรคอื่นที่อันตรายกว่า เช่น [[ฝาปิดกล่องเสียงอักเสบ]] หรือ[[สิ่งแปลกปลอมอุดกั้นทางเดินหายใจ]] ออกไปให้ได้ก่อน<ref name=PedN09 /> การตรวจทางห้องปฏิบัติการต่าง ๆ เช่น [[การตรวจเลือด]] [[การถ่ายภาพรังสี]] หรือ[[การเพาะเชื้อ]] ส่วนใหญ่ไม่มีความจำเป็นนัก<ref name=PedN09>{{Cite journal | author = Everard ML | title = Acute bronchiolitis and croup | journal = Pediatr. Clin. North Am. | volume = 56 | issue = 1 | pages = 119{{Hyphen}}33, x{{Hyphen}}xi |date=February 2009 | pmid = 19135584 | doi = 10.1016/j.pcl.2008.10.007 | df = dmy-all}}</ref>


เชื้อที่เป็นสาเหตุของครุปบางส่วนป้องกันได้ด้วย[[การฉีดวัคซีน]] เช่น เชื้อไข้หวัดใหญ่ และเชื้อคอตีบ<ref name=Cherry08/> การรักษาที่สำคัญคือการให้[[สเตียรอยด์]]ครั้งเดียว ซึ่งอาจให้กินหรือให้ฉีดก็ได้<ref name=Au10/> ถ้าอาการรุนแรงอาจจำเป็นต้องใช้ยา[[เอพิเนฟรีน]]พ่นแบบฝอยละอองเข้าทางการหายใจ<ref name=Au10/><ref>{{cite journal|last1=Bjornson|first1=C|last2=Russell|first2=K|last3=Vandermeer|first3=B|last4=Klassen|first4=TP|last5=Johnson|first5=DW|title=Nebulized epinephrine for croup in children.|journal=The Cochrane Database of Systematic Reviews|date=10 October 2013|volume=10|pages=CD006619|pmid=24114291|doi=10.1002/14651858.CD006619.pub3}}</ref> ผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงบางรายอาจจำเป็นต้องนอนรักษาในโรงพยาบาล คิดเป็นประมาณ 1-5% ของผู้ป่วยทั้งหมด<ref name=CMAJ2013>{{cite journal|last1=Bjornson|first1=CL|last2=Johnson|first2=DW|title=Croup in children.|journal=CMAJ : Canadian Medical Association Journal |date=15 October 2013|volume=185|issue=15|pages=1317–23|pmid=23939212|doi=10.1503/cmaj.121645|pmc=3796596}}</ref>
เชื้อที่เป็นสาเหตุของครุปบางส่วนป้องกันได้ด้วย[[การฉีดวัคซีน]] เช่น เชื้อไข้หวัดใหญ่ และเชื้อคอตีบ<ref name=Cherry08 /> การรักษาที่สำคัญคือการให้[[สเตอรอยด์]]ครั้งเดียว ซึ่งอาจให้กินหรือให้ฉีดก็ได้<ref name=Au10 /> ถ้าอาการรุนแรงอาจจำเป็นต้องใช้ยา[[เอพิเนฟรีน]]พ่นแบบฝอยละอองเข้าทางการหายใจ<ref name=Au10 /><ref>{{Cite journal |last1=Bjornson |first1=C |last2=Russell |first2=K |last3=Vandermeer |first3=B |last4=Klassen |first4=TP |last5=Johnson |first5=DW |title=Nebulized epinephrine for croup in children |journal=The Cochrane Database of Systematic Reviews |date=10 October 2013 |volume=10 |pages=CD006619 |pmid=24114291 |doi=10.1002/14651858.CD006619.pub3 |df=dmy-all}}</ref> ผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงบางรายอาจจำเป็นต้องนอนรักษาในโรงพยาบาล คิดเป็นประมาณ 1–5% ของผู้ป่วยทั้งหมด<ref name=CMAJ2013>{{Cite journal |last1=Bjornson |first1=CL |last2=Johnson |first2=DW |title=Croup in children |journal=CMAJ : Canadian Medical Association Journal |date=15 October 2013 |volume=185 |issue=15 |pages=1317{{Hyphen}}23 |pmid=23939212 |doi=10.1503/cmaj.121645 |pmc=3796596}}</ref>

โรคนี้ค่อนข้างพบได้บ่อย เด็กประมาณ 15% จะเคยป่วยโรคนี้<ref name=PedN09 /> ช่วงอายุที่พบบ่อยที่สุดคือระหว่าง 6 เดือน ถึง 5 ปี แต่บางครั้งก็พบได้ในเด็กโตถึงอายุ 15 ปี<ref name=Croup09 /><ref name=PedN09 /><ref name=CMAJ2013 /> พบในเพศชายบ่อยกว่าเพศหญิงเล็กน้อย<ref name=CMAJ2013 /> มักพบมากในฤดูใบไม้ร่วง<ref name=CMAJ2013 /> ในยุคก่อนที่จะมีการฉีดวัคซีนโรคนี้มักเกิดจากเชื้อคอตีบ และมักเป็นอันตรายถึงชีวิต<ref name=Cherry08 /><ref>{{Cite book |last1=Steele |first1=Volney |title=Bleed, blister, and purge : a history of medicine on the American frontier |date=2005 |publisher=Mountain Press |location=Missoula, Mont. |isbn=978-0-87842-505-1 |page=324}}</ref> ปัจจุบันครุปจากเชื้อคอตีบพบได้น้อยมากเนื่องจากมีการให้[[วัคซีนโรคคอตีบ]]อย่างกว้างขวาง<ref name=history>{{Cite book |author=Feigin, Ralph D. |title=Textbook of pediatric infectious diseases |publisher=Saunders |location=Philadelphia |year=2004 |page=252 |isbn=0-7216-9329-6 |oclc= |doi= |accessdate=}}</ref>


โรคนี้ค่อนข้างพบได้บ่อย เด็กประมาณ 15% จะเคยป่วยโรคนี้<ref name=PedN09/> ช่วงอายุที่พบบ่อยที่สุดคือระหว่าง 6 เดือน ถึง 5 ปี แต่บางครั้งก็พบได้ในเด็กโตถึงอายุ 15 ปี<ref name=Croup09/><ref name=PedN09/><ref name=CMAJ2013/> พบในเพศชายบ่อยกว่าเพศหญิงเล็กน้อย<ref name=CMAJ2013/> มักพบบ่อยในฤดูใบไม้ร่วง<ref name=CMAJ2013/> ในยุคก่อนที่จะมีการฉีดวัคซีนโรคนี้มักเกิดจากเชื้อคอตีบ และมักเป็นอันตรายถึงชีวิต<ref name=Cherry08/><ref>{{cite book|last1=Steele|first1=Volney|title=Bleed, blister, and purge : a history of medicine on the American frontier|date=2005|publisher=Mountain Press|location=Missoula, Mont.|isbn=978-0-87842-505-1|page=324}}</ref> ปัจจุบันครุปจากเชื้อคอตีบพบได้น้อยมากเนื่องจากมีการให้[[วัคซีนโรคคอตีบ]]อย่างกว้างขวาง<ref name=history>{{cite book |author=Feigin, Ralph D. |title=Textbook of pediatric infectious diseases |publisher=Saunders |location=Philadelphia |year=2004 |page=252 |isbn=0-7216-9329-6 |oclc= |doi= |accessdate=}}</ref>
== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Croup|กล่องเสียงอักเสบอุดกั้น}}
{{Medical resources
* {{Citation |url=http://www.mayoclinic.com/health/croup/DS00312 |title=Croup |work=MayoClinic}}
* {{Citation |url=http://www.healthscout.com/ency/68/135/main.html |title=Four kinds of Croup |work=Health Scout |archive-url=https://web.archive.org/web/20100224061326/http://www.healthscout.com/ency/68/135/main.html |archive-date=24 กุมภาพันธ์ 2010}}
* {{Citation |url=http://www.topalbertadoctors.org/PDF/complete%20set/Croup/croup_guideline.pdf |title=Clinical Management notes |work=Alberta Medical Association |archive-url=https://web.archive.org/web/20091007114124/http://www.topalbertadoctors.org/PDF/complete%20set/Croup/croup_guideline.pdf |archive-date=7 ตุลาคม 2009}}
{{Break}}

{{แหล่งข้อมูลการแพทย์
| DiseasesDB = 13233
| DiseasesDB = 13233
| ICD10 = {{ICD10|J|05|0|j|00}}
| ICD10 = {{ICD10|J|05|0|j|00}}
บรรทัด 40: บรรทัด 47:
| MeshID = D003440
| MeshID = D003440
}}
}}
* [http://www.mayoclinic.com/health/croup/DS00312 MayoClinic]
* [http://www.healthscout.com/ency/68/135/main.html Four kinds of Croup] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20100224061326/http://www.healthscout.com/ency/68/135/main.html |date=2010-02-24 }}
* [http://www.topalbertadoctors.org/PDF/complete%20set/Croup/croup_guideline.pdf Clinical Management notes] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20091007114124/http://www.topalbertadoctors.org/PDF/complete%20set/Croup/croup_guideline.pdf |date=2009-10-07 }}

{{พยาธิวิทยาระบบหายใจ}}
{{พยาธิวิทยาระบบหายใจ}}

[[หมวดหมู่:กุมารเวชศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:กุมารเวชศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:โสตศอนาสิกวิทยา]]
[[หมวดหมู่:วิทยาปอด]]
[[หมวดหมู่:วิทยาปอด]]
[[หมวดหมู่:ไวรัส]]
[[หมวดหมู่:อาการไอ]]
[[หมวดหมู่:การติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบนเฉียบพลัน]]
[[หมวดหมู่:การติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบนเฉียบพลัน]]
[[หมวดหมู่:โรคไวรัสในสัตว์]]
{{โครงแพทย์}}
{{โครงแพทย์}}

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 22:00, 17 มกราคม 2566

ครุป
ชื่ออื่นกล่องเสียงและท่อลมอักเสบ (laryngotracheitis), กล่องเสียงอักเสบระดับใต้สายเสียง(subglottic laryngitis), กล่องเสียงอักเสบอุดกั้น (obstructive laryngitis), กล่องเสียงท่อลมและหลอดลมอักเสบ (laryngotracheobronchitis)
ลักษณะตีบแคบบริเวณฝาปิดกล่องเสียง (steeple sign) ในภาพถ่ายรังสีบริเวณคอในท่าตรงของผู้ป่วยเด็กที่มีอาการกล่องเสียงอักเสบอุดกั้น
สาขาวิชากุมารเวชศาสตร์
อาการไอเสียงก้อง, หายใจเสียงดัง, มีไข้, คัดจมูก[1]
ระยะดำเนินโรคส่วนใหญ่หายใน 1–2 วัน, บางรายอาจเป็นนานถึง 7 วัน[2]
สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากการติดเชื้อไวรัส[1]
วิธีวินิจฉัยวินิจฉัยจากอาการ[3]
โรคอื่นที่คล้ายกันฝาปิดกล่องเสียงอักเสบ, สิ่งแปลกปลอมในทางหายใจ, ท่อลมอักเสบจากแบคทีเรีย[3][4]
การป้องกันการให้วัคซีนไข้หวัดใหญ่ และวัคซีนป้องกันโรคคอตีบ[4]
ยาสเตอรอยด์, เอพิเนฟรีน[3][4]
ความชุกร้อยละ 15 ของเด็กในบางช่วง[3][4]
การเสียชีวิตพบน้อย[1]

ครุป[5] หรือ กล่องเสียงอักเสบอุดกั้น (อังกฤษ: croup, acute obstructive laryngitis) เป็นการติดเชื้อในระบบหายใจอย่างหนึ่งที่มักเกิดจากไวรัส[1] ภาวะนี้จะทำให้ท่อลมบวม ขัดขวางการหายใจ และทำให้เกิดอาการสำคัญได้แก่ การไอเสียงก้องคล้ายเสียงสุนัขเห่า การมีเสียงฮี้ด (stridor) ขณะหายใจ และเสียงแหบ[1] ผู้ป่วยบางรายอาจมีอาการไข้และน้ำมูกไหลร่วมด้วย[1] อาการของโรคมีทั้งเป็นเล็กน้อย ปานกลาง และรุนแรง[2] มักเริ่มเป็นหรือเป็นมากเวลากลางคืน[1][2] ระยะเวลาของการเจ็บป่วยรวมแล้วประมาณ 1–2 วัน[6]

ไวรัสที่เป็นสาเหตุของครุปมีหลายอย่าง ที่พบบ่อยได้แก่เชื้อไวรัสพาราอินฟลูเอนซา และไวรัสอินฟลูเอนซา (หรือเชื้อไข้หวัดใหญ่)[1] แบคทีเรียก็ทำให้เกิดโรคนี้ได้แต่พบได้น้อยกว่า[4] การวินิจฉัยส่วนใหญ่ทำโดยอาศัยประวัติและผลการตรวจร่างกาย ก่อนวินิจฉัยจำเป็นต้องวินิจฉัยแยกเอาโรคอื่นที่อันตรายกว่า เช่น ฝาปิดกล่องเสียงอักเสบ หรือสิ่งแปลกปลอมอุดกั้นทางเดินหายใจ ออกไปให้ได้ก่อน[3] การตรวจทางห้องปฏิบัติการต่าง ๆ เช่น การตรวจเลือด การถ่ายภาพรังสี หรือการเพาะเชื้อ ส่วนใหญ่ไม่มีความจำเป็นนัก[3]

เชื้อที่เป็นสาเหตุของครุปบางส่วนป้องกันได้ด้วยการฉีดวัคซีน เช่น เชื้อไข้หวัดใหญ่ และเชื้อคอตีบ[4] การรักษาที่สำคัญคือการให้สเตอรอยด์ครั้งเดียว ซึ่งอาจให้กินหรือให้ฉีดก็ได้[1] ถ้าอาการรุนแรงอาจจำเป็นต้องใช้ยาเอพิเนฟรีนพ่นแบบฝอยละอองเข้าทางการหายใจ[1][7] ผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงบางรายอาจจำเป็นต้องนอนรักษาในโรงพยาบาล คิดเป็นประมาณ 1–5% ของผู้ป่วยทั้งหมด[8]

โรคนี้ค่อนข้างพบได้บ่อย เด็กประมาณ 15% จะเคยป่วยโรคนี้[3] ช่วงอายุที่พบบ่อยที่สุดคือระหว่าง 6 เดือน ถึง 5 ปี แต่บางครั้งก็พบได้ในเด็กโตถึงอายุ 15 ปี[2][3][8] พบในเพศชายบ่อยกว่าเพศหญิงเล็กน้อย[8] มักพบมากในฤดูใบไม้ร่วง[8] ในยุคก่อนที่จะมีการฉีดวัคซีนโรคนี้มักเกิดจากเชื้อคอตีบ และมักเป็นอันตรายถึงชีวิต[4][9] ปัจจุบันครุปจากเชื้อคอตีบพบได้น้อยมากเนื่องจากมีการให้วัคซีนโรคคอตีบอย่างกว้างขวาง[10]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.00 1.01 1.02 1.03 1.04 1.05 1.06 1.07 1.08 1.09 Rajapaksa S, Starr M (May 2010). "Croup – assessment and management". Aust Fam Physician. 39 (5): 280–2. PMID 20485713.
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 Johnson D (2009). "Croup". Clin Evid (Online). 2009. PMC 2907784. PMID 19445760.
  3. 3.0 3.1 3.2 3.3 3.4 3.5 3.6 3.7 Everard ML (กุมภาพันธ์ 2009). "Acute bronchiolitis and croup". Pediatr. Clin. North Am. 56 (1): 119–33, x–xi. doi:10.1016/j.pcl.2008.10.007. PMID 19135584.
  4. 4.0 4.1 4.2 4.3 4.4 4.5 4.6 Cherry JD (2008). "Clinical practice. Croup". N. Engl. J. Med. 358 (4): 384–91. doi:10.1056/NEJMcp072022. PMID 18216359.
  5. J05 กล่องเสียงอักเสบอุดกั้นเฉียบพลัน [ครุป] และฝากล่องเสียงอักเสบ (PDF). บัญชีจำแนกโรคระหว่างประเทศฉบับประเทศไทย (อังกฤษ-ไทย) เล่ม 1 ตารางการจัดกลุ่มโรค. สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. 2009. p. 373. ISBN 978-616-11-0337-8.
  6. Thompson, M; Vodicka, TA; Blair, PS; Buckley, DI; Heneghan, C; Hay, AD; TARGET Programme Team (11 ธันวาคม 2013). "Duration of symptoms of respiratory tract infections in children: systematic review". BMJ (Clinical research ed.). 347: f7027. doi:10.1136/bmj.f7027. PMC 3898587. PMID 24335668.
  7. Bjornson, C; Russell, K; Vandermeer, B; Klassen, TP; Johnson, DW (10 ตุลาคม 2013). "Nebulized epinephrine for croup in children". The Cochrane Database of Systematic Reviews. 10: CD006619. doi:10.1002/14651858.CD006619.pub3. PMID 24114291.
  8. 8.0 8.1 8.2 8.3 Bjornson, CL; Johnson, DW (15 October 2013). "Croup in children". CMAJ : Canadian Medical Association Journal. 185 (15): 1317–23. doi:10.1503/cmaj.121645. PMC 3796596. PMID 23939212.
  9. Steele, Volney (2005). Bleed, blister, and purge : a history of medicine on the American frontier. Missoula, Mont.: Mountain Press. p. 324. ISBN 978-0-87842-505-1.
  10. Feigin, Ralph D. (2004). Textbook of pediatric infectious diseases. Philadelphia: Saunders. p. 252. ISBN 0-7216-9329-6.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]


การจำแนกโรค
ทรัพยากรภายนอก